ปูเจ้าฟ้า หรือ ปูสิรินธร หรือ ปูน้ำตก

เป็นปูน้ำตกพบที่วนอุทยานน้ำตกหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2529 เป็นปูที่มีสีสันสวยงาม กระดองและก้ามทั้งสองข้างเป็นสีขาว ขาเดินทั้งสี่คู่และเบ้าตาและบริเวณปากเป็นสีม่วงดำ มีลักษณะปล้องท้องและอวัยะเพศผู้คู่ที่ 1 ต่างจากปูชนิดอื่น

เมื่อโตเต็มที่ความกว้างของกระดอกประมาณ 9-25 มิลลิเมตร พบอยู่จำกัดบริเวณน้ำตกแถบภาคตะวันตกของไทย เช่น น้ำตกห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ น้ำตกที่เขาพะเนินทุ่ง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เป็นต้น

ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตอัญเชิญพระนามาภิไธยของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของปูชนิดนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531

ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535

ลักษณะทั่วไป:
เป็นปูน้ำตกชนิดใหม่ของโลก มีสีสันสวยงามแปลกตา กระดองและก้ามทั้ง 2 ข้างเป็นสีขาว ขาเดินทั้ง 4 คู่เป็นสีดำ เบ้าตาทั้ง 2 ข้างและบริเวณปากเป็นสีม่วงดำ

ถิ่นที่อยู่:
ซอกตัวอยู่ตามใต้ก้อนหิน บริเวณน้ำตกหงาว วนอุทยานน้ำตกหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

อุทยานแห่งชาติน้ำตกหงาว เดิมชื่อ อุทยานแห่งชาติคลองเพรา มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 417,500 ไร่ หรือ 668 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมที่ดินป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ในท้องที่อำเภอละอุ่น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง และที่ดินป่าทุ่งระยะ ป่านาสัก ป่าเขาตังอา ป่าคลองโชน ป่าพะโต๊ะ ป่าปังหวาน และป่าปากทรง อำเภอสวี อำเภอหลังสวน และอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2542 นับเป็นอุทยานฯ ลำดับที่ 93 ของประเทศ

อุทยานแห่งชาติลำน้ำกระบุรี
ตั้งอยู่ทางด้านฝั่งทะเลอันดามัน ในท้องที่อำเภอกระบุรี อำเภอละอุ่น อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อปี 2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 29 ก ลงวันที่ 21 เมษายน 2542 ครอบคลุมพื้นที่ 160 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดกับประเทศสหภาพพม่าทางด้านทิศตะวันตก โดยมีแม่น้ำกระบุรีเป็นเส้นแบ่งกั้นของประเทศทั้งสอง พื้นที่ประมาณ 64 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 40 ของพื้นที่ ในแม่น้ำมีเกาะจำนวน 6 เกาะ ได้แก่ เกาะเสียด เกาะขวาง เกาะโชน เกาะยาว เกาะปลิง และเกาะนกเปล้า

 

ตารางกิจกรรม 

23 มีนาคม
22.00 ออกจากปตท สนามเป้า

24 มีนาคม 
7.00 ถึงไร่กาแฟ ก้องวัลเล่ ฟังแนวคิดการปลูกแฟ คั่วมือ ระดับโลก และ ชิมกาแฟตามอัธยาศัย
10.00 เดินทางไป วัดวารีบรรพต หรือวัดบางนอน
12.30 ถึงศูนย์วิจัยป่าชายเลนหงาว
15.00 ถึงอทยานน้ำตกหงาว ทำกิจกรรม ฟังบรรยายเรื่องปูเจ้าฟ้า ปลูกต้นไม้ นั่งรถไปตามหาปูเจ้าฟ้าในป่าโดยมีเจ้าหน้าที่พาไป และ เล่นน้ำตก และ ดูจุดชมวิว ที่อทยานแห่งชาติน้ำตกหงาว

17.30 เดินทางไปดูพระอาทิตย์ตกที่ภูเขาหญ้า

25มีนาคม
8.00 เดินทางไปกิน นิสา โรตีชื่อดังเมืองระนอง
9.00 เดืนทางไปยังอุทยานแห่งชาติลำน้ำกระบุรี
ชมน้ำตกน้ำตกปุญญบาล
11.00 ออกจากน้ำตกไปยังหมู่บ้านซาลาเปา ทับหลี ซื้อของฝาก
13.00 เดินทางกลับกรุงเทพ
22.00 ถึงกรุงเทพ
***กิจกรรมเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม***


วิธีการสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับเราชาว ONE FINE DAY
1. ผู้สนใจสามารถ In Box ส่งข้อมูลมาในเพจ ONEFINEDAY: https://www.facebook.com/onefinedayclub 
2. หลังจากส่งข้อความมาแล้ว ให้รอรับข้อความตอบกลับ 
3. หลังจากได้ตอบกลับแล้ว โอนเงิน 1730บาท/คน มาที่บัญชีสะสมทรัพย์ ธนาคารทหารไทย เลขบัญชี 235-2-36290-5 ชื่อบัญชี นาย สุธี วัฒนกุล หรือ ไทยพานิช 406-466738-5 ชื่อบัญชี นาย สุธี วัฒนกุล
4. หลังจากโอนเงินแล้วให้กรอกรายละเอียดตามลิ้งด้านล่าง เพื่อ upload สลิป ตามลิ้ง *** https://goo.gl/forms/Qh7AJEAjlYI6GYsa2 ***


5..หลังจากดำเนินการเสร็จสิ้น กดเข้าร่วมในห้องกิจกรรมได้เลยคับ เพื่อรอประกาศรายชื่อได้เลยครับ

เพื่อนๆสามารถยืนยันการสมัครได้ภายในเวลา 3 วัน (ไม่นับรวมวันที่เราส่งข้อความให้) หากเกินเวลาที่กำหนด เราจะให้สิทธิ์ผู้สมัครท่านอื่นในลำดับต่อไป และเพื่อนๆยังสามารถถามสิทธิ์ได้อีกเรื่อยๆ ถ้าผู้สมัครยังไม่เต็ม
ขอบคุณเพื่อนๆที่สนใจ และหวังว่า จะได้พบกัน
ขอบคุณทุกท่านที่สนใจเดินทางไปกับพวกเรา
#OFDClub
#วันสบายๆสไตล์OneFineDay

ติดต่อได้ที่ เบอร์ 0831919554
email: mongwin1123@gmail.com
line: navigatorsutee

***อาสานำเต็นทร์มาด้วย และ ถุงนอนมาด้วย หรือ ถ้าต้องการพักแบบ อุทยาน มีค่าใช้จ่าย ต่อหลัง ประมาณ7-800 ต่อหลัง นอนได้หลายท่าน ***

**ห้ามลืมชุดเล่นน้ำ**

สิ่งที่รวมในทริป
1. ค่ารถไปกลับ 
2. ค่าวิทยากร เดินทางพาไปดูปูเจ้าฟ้า
3. เงินสมทบทุนให้เจ้าหน้าที่
4. ค่าอาหาร 1 มื้อ
5.ค่าอุปกรทำอาสาสมัคร
6. ค่าเข้าอุทยาน
7.ค่ากล้าไม้

ค่าใช้จ่าย : 1730