The scorching heat is not the only reason for the raging forest fires that are engulfing the rainforests at Phu Long mountain in Chaiyaphum province. The more serious threat is from poachers who use fire to hunt wildlife.

Despite the reforestation efforts by monks and villagers, the Phu Long forests still face fires caused by poachers every year. Photo courtesy of the DEK RAK NOK CLUB.

Phu Long is the rain catchment forest of the Lampathao River, the lifeblood of countless communities downstream. It used to be one of the most fertile rainforests in the region, but the government’s logging concessions and its policy to expand farmland on the frontiers have caused massive forest destruction here and elsewhere.

Over the past few decades, the Phu Long forest has recovered significantly, thanks to a strong Phu Long forest conservation movement led by Buddhist monks and nuns. For the past decade, Phra Paisal Visalo, a reformist monk and abbot of the Phu Long forest monastery, has been organising Dharmayatra, a religious pilgrimage to cultivate forest conservation awareness, leading to a community network to safeguard Phu Long.

But the wildlife that has returned to Phu Long has also attracted the poachers who are backed by powerful people. They set the forest ablaze as a method to force wild animals to flee into their traps. The fires are often uncontrollable and cause massive damage.

At present, villagers have set up a team of forest guards to patrol the forest around the clock. Yet, they cannot keep up with the poachers’ trickery. Often the villagers must work shoulder to shoulder with people from the temples to douse the forest fires both day and night.

The fight is on to save the forests at Phu Long, Chaiyaphum.

The forest guards need help. They need sneakers to do their forest patrol because combat shoes are too heavy and make too much noise on dry leaves, which alerts the poachers.

They also need binoculars and digital cameras. It helps to be able spot poachers from afar, and since the forest guards often cannot get close to them, it helps to have their pictures so they can be arrested in the future.

If you think you can help, please send the required items to

Ban Vithee Thai, 7 Moo 11 Tambon Tamafaiwan, Kaengkroh district, Chaiyaphum 36150.

For more information, call Neng at the Lampathao River’s Rain-catchment Forest Recovery Project on 08-4925-4800.

HELP NEEDED

– FOREST CONSERVATION: Starting as a reforestation project, conservation work by the Rabbit in the Moon Foundation has now branched out to create community employment as well as cultivate forest conservation among the younger generation, since deforestation is, more often than not, the result of state policies and urban lifestyles that are beyond the control of local villagers. More information about the foundation in Thai and English is available at http://www.rabbitinthemoon.org, or call 02-513-9767 or 02-513-9686.

To help, you can volunteer time and energy, support the foundation’s various products or donate to: savings account name: Mool Nithi Kratai Nai Duangjand; a/c No: 103-4-016111, Bangkok Bank, Yannawa branch.

– VOLUNTEERS: The Volunteers for Nature Network wants volunteers to help build forest fire barriers at the Huay Kha Khaeng Wildlife Sanctuary in Uthai Thani province on March 21 and 22. The network is an initiative by a group of 2004 tsunami volunteers to keep up the spirit of volunteerism. Volunteers are also asked to contribute 950 baht for transportation and food during the trip. For more information, call 08-7177-4647 or 08-1481 1496.

– STRAY DOGS: Dogchance is a non-profit organisation with a mission to help Bangkok strays through free neutering and immunisation. Volunteers will collect the strays and make sure they are safe before returning them to their neighbourhoods. The dogs will also receive anti-rabies vaccinations as well as other treatments for worms, ticks and skin problems. To help, or for more information, email pymberly@hotmail.com, call 02-258-7097 or visit http://www.dogchance.com.

———————————————————————————————————————

THAI VERSION.

อากาศที่ร้อนระอุมิได้เป็นเพียงเหตุผลเดียวที่ก่อให้เกิดไฟป่าที่ลุกลามไป ทั่วบริเวณพื้นที่ป่าฝนของภูหลง จังหวัดชัยภูมิเท่านั้น แต่ปัญหาที่หนักหนายิ่งกว่าก็คือภัยคุกคามจากกลุ่มผู้บุกรุกป่าที่มาจุดไฟ เผาป่าเพื่อล่าสัตว์ป่า

ถึง แม้ว่าจะมีความ พยายามที่จะช่วยกันปลูกป่าทดแทนโดยบรรดาพระสงฆ์และบรรดาชาวบ้านก็ตาม แต่ผืนป่าในภูหลงก็ยังต้องเผชิญกับไฟป่าโดยฝีมือของผู้บุกรุกอยู่ทุกปี
ภาพโดย วิชัย นาพัว ชมรมเด็กรักนก

ภูหลงเป็นป่าต้นน้ำที่กักเก็บน้ำของแม่น้ำลำปะทาว ซึ่งเป็นเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตชาวชุมชนปลายน้ำเป็นจำนวนมาก ป่าแห่งนี้เคยเป็นป่าฝนที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันออก เฉียงเหนือนี้ แต่การให้สัมปทานทำป่าไม้และนโยบายส่งเสริมการทำเกษตรในพื้นที่ที่ยังไม่ได้ พัฒนา เป็นสาเหตุให้ผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ทั้งที่นี่และที่อื่นๆ ถูกทำลายลง

สิบกว่าปีที่แล้ว ป่าภูหลงได้รับการเยียวยาให้มีชีวิตขึ้นมาใหม่อย่างเห็นได้ชัด ซึ่งต้องขอบคุณการเคลื่อนไหวเพื่อการอนุรักษ์ป่าภูหลงอย่างเข้มแข็งโดยพระ สงฆ์และฆราวาส โดยในช่วงสิบปีที่แล้ว พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ผู้ซึ่งเป็นพระนักพัฒนาและเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าภูหลง ได้จัดกิจกรรมธรรมยาตรา ซึ่งเป็นการเดินด้วยวิถีพุทธเพื่อกระตุ้นจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่า และได้ขยายไปสู่เครือข่ายชุมชนเพื่อปกป้องป่าภูหลง

แต่เมื่อสัตว์ป่าหวนกลับมาที่ป่าภูหลงอีกครั้ง ก็กลับกลายเป็นจุดดึงดูดความสนใจของกลุ่มผู้บุกรุกป่าที่ได้รับการหนุนหลัง จากผู้มีอิทธิพล โดยพวกเขาจะจุดไฟเผาป่าให้ลุกไหม้เพื่อต้อนให้สัตว์ป่าที่กำลังหนีตายเข้าไป ติดกับดัก ซึ่งไฟป่าแบบนี้มักจะควบคุมไม่ค่อยได้และก่อความเสียหายเป็นอย่างมาก

ปัจจุบันนี้ บรรดาชาวบ้านได้ช่วยกันจัดทีมเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังป่าและคอยลาดตระเวน พื้นที่โดยรอบอยู่ตลอดเวลา แต่ถึงกระนั้นก็ยังคงมีปัญหาตรงที่พวกชาวบ้านไม่ทันเล่ห์เหลี่ยมของกลุ่มผู้ บุกรุกเผาป่า บ่อยครั้งที่บรรดาชาวบ้านจะต้องทำงานเคียงบ่าเคียงไหล่ร่วมแรงร่วมใจกับทาง วัด เพื่อที่จะดับไฟป่าตลอดทั้งวันทั้งคืน

การต่อสู้เพื่อปกป้องผืนป่าภูหลง จังหวัดชัยภูมิยังคงดำเนินต่อไป

ผู้พิทักษ์รักษาป่า ต้องการความช่วยเหลือ

พวกเขาต้องการรองเท้าผ้าใบเอาไว้ใส่ในเวลาออกลาดตระเวนป่า เพราะว่ารองเท้าบูทแบบทหารนั้นมีน้ำหนักมากเกินไป และเวลาที่เดินเหยียบใบไม้แห้ง มักจะส่งเสียงดังจนทำให้กลุ่มผู้บุกรุกป่านั้นรู้ตัวเสียก่อน

พวกเขายังต้องการกล้องส่องทางไกลและกล้องดิจิตอล ซึ่งจะช่วยให้เห็นกลุ่มผู้บุกรุกได้ถนัดจากระยะไกล ในเมื่อผู้พิทักษ์รักษาป่าไม่สามารถเข้าถึงตัวผู้บุกรุกได้ กลุ่มผู้พิทักษ์ฯ ก็สามารถใช้กล้องถ่ายรูปผู้บุกรุกป่าเอาไว้เพื่อติดตามจับกุมในภายหลังต่อไป

ถ้าคุณสนใจอยากให้การสนับสนุนช่วยเหลือ กรุณาติดต่อที่ บ้านวิถีไท, เลขที่ 7 หมู่ 11 ตำบลท่ามะไฟหวาน, อำเภอแก้งคร้อ, จังหวัดชัยภูมิ 36150

ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อ เหน่ง โครงการฟื้นฟูอนุรักษ์ป่าต้นน้ำลำปะทาว โทร. 08-4925-4800