research_volunteerth

ประชากรที่ใชใ้นการศึกษาปัจจยัที่มีผลต่อพฤติกรรมจิตอาสาของประชาชนในกองพล
ทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน กรณีศึกษา มหาอุทกภัย ปี 2554ผู้ศึกษาได้ท าการศึกษาแนวคิดจาก
เอกสารวรรณกรรม และงานวจิยัที่เกี่ยวขอ้ง เพื่อเป็นฐานและแนวทางในการศึกษาดงัน้ี
1. แนวคิดที่เกี่ยวขอ้งกบั พฤติกรรมจิตอาสาจิตสาธารณะ และอาสาสมัคร
 1.1 ความเป็นมาเกี่ยวกบัจิตอาสา
 1.2 ความหมายของพฤติกรรม
1.3 ความหมายของทัศนคติ
 1.4 ความหมายของจริยธรรม
2. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกบัการจดัการ
2.1 ความหมายของการบริหาร
2.2 ทรัพยากรการบริหาร
3. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกบัคุณภาพชีวติของประชาชนและชุมชน
 3.1 องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
 3.2 ความส าคัญของคุณภาพชีวิต
 3.3 ความหมายและความส าคัญของคุณภาพชีวิต
3.4องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
4. ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้งกบั พฤติกรรมจิตอาสา
 4.1 ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมส าหรับคนไทย
 4.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
 4.3 ทฤษฎีเกี่ยวกบัแรงจูงใจ
5. งานวจิยัที่เกี่ยวขอ้ง
แนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจิตอาสา จิตสาธารณะและอาสาสมัคร
ความเป็ นมาเกี่ยวกับจิตอาสา
แนวคิดจิตอาสาเริ่มเกิดข้ึนอยา่ งจริงจงัในประเทศไทยภายหลงัการเกิดธรณีพิบตัิสึนามิ
เมื่อวันที่26 ธันวาคม 2547 ในคร้ังน้นัอาสาสมคัรจา นวนมากหลงั่ ไหลจากทวั่ ประเทศและทวั่ โลก9
เกิดการร่วมมือกนัระหวา่ งองคก์รภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมต่าง ๆ เพื่อมาระดม
ความช่วยเหลือผปู้ระสบภยั ด าเนินการกศู้พ ท าความสะอาดในบริเวณชายทะเล4 จังหวัดภาคใต้
เป็นจุดเริ่มตน้ของกระแสการเป็นอาสาสมคัรและทา ใหค้ นไทยไดห้ นักลบั มาใหค้วามสา คญั กบั
ความสามัคคีการมีส่วนร่วม และคุณธรรมวา่ ดว้ยการใหอ้ีกคร้ังหน่ึง (นันทรัตน์ ปริวัติธรรม, 2554,
หน้า 20)
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่8 (พ.ศ. 2540-2544) ได้ให้ความส าคัญใน
การกระจายอา นาจทางการเมืองการปกครองสู่ทอ้งถิ่นและการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์โดยกล่าววา่
กลไกที่จะท าให้พัฒนาคนได้คือระบบการศึกษาจึงมีการกล่าวถึงจิตสาธารณะ หรือจิตส านึก
สาธารณะมากข้ึน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ช่วงปี2544 องคก์ ารสหประชาชาติไดร้่วมกบั ประเทศต่าง ๆ
จัดให้เป็ นปี อาสาสมัครสากล(International Year of Volunteer) หรือที่รู้จกักนั ในชื่อยอ่ วา่ IYV
2001 จึงก่อใหเ้กิดการตื่นตวัไปทวั่ โลกรวมถึงประเทศไทยดว้ย ส่งผลใหแ้ผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบบั ที่9 (พ.ศ. 2545-2549) ไดก้ล่าวถึงการมีจิตสา นึกสาธารณะไวอ้ยา่ งชดัเจนวา่
เป็นคุณลกัษณะของคนไทยที่พึงประสงคซ์ ่ึงจะช่วยในการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่10 (พ.ศ. 2549-2554) เป็นแผนที่กา หนดทิศทาง
แนวทางและกลยุทธ์การพัฒนาประเทศได้มีการน าเรื่องคุณธรรมมาเป็ นหลักในการขับเคลื่อนทุก
ข้นั ตอน โดยการเสริมสร้างศีลธรรม และให้ประชาชนส านึกในคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งได้ระบุไว้ใน
วสิัยทศัน์ประเทศไทยวา่ “สังคมอยเู่ยน็ เป็นสุขร่วมกนั คนไทยมีคุณธรรมน าความรู้รู้เท่าทนัโลก
ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุขเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพ และเป็ นธรรม”
(สา นกัประเมินผลและเผยแพร่การพฒั นา, 2549, หน้า 63) ตลอดจนพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติพ.ศ. 2542 มาตรที่6 ไดก้า หนดลกัษณะคนไทยที่พึงประสงคไ์วด้งัน้ีคือการเป็ นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ท้งัร่ายกายจิตใจ สติปัญญาความรู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เช่น มีพฤติกรรมที่แสดงออก
ถึงการมีวินัย มีความเอ้ือเฟ้ือเก้ือกลู มีเหตุผลรู้หน้าที่ ซื่อสัตย์พากเพียรขยัน ประหยัด มีจิตใจเป็ น
ประชาธิปไตยเคารพความคิดเห็นและสิทธิของผู้อื่นมีความเสียสละ รักษาสิ่งแวดลอ้ ม สามารถอยู่
ร่วมกบัผอู้ื่นอยางสันติสุข ่ รวมถึงกระทรวงศึกษาธิการ สา นกังานคณะกรรมการการศึกษาข้นั
พ้ืนฐาน ปีพ.ศ. 2550-2551 และ นโยบายของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ตระหนัก
และเห็นความสา คญั ของนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดหลักคุณธรรมน าความรู้พัฒนา
คนโดยใช้คุณธรรมเป็ น ฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือของสถาบนัครอบครัว
ชุมชน สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็ นคนดีมี
ความรู้และอยดู่ ีมีสุขโดยเห็นวา่ สิ่งที่ควรเร่งปลูกฝังคือคุณธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ(ส านักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2552, หน้า 1)10
นอกจากน้ีมติคณะกรรมการส่งเสริมการจดัสวสัดิการสังคมแห่งชาติคร้ังที่3/2549วันที่
4 ธันวาคม 2549 และมติคณะรัฐมนตรีวันที่30 มกราคม 2550 ที่ประกาศให้ปีพ.ศ. 2550 เป็ นวาระ
แห่งชาติเรื่องการใหแ้ละการอาสาช่วยเหลือสังคม โดยมีเน้ือหาประกอบดว้ยการรณรงค์จิตส านึก
การใหแ้ละการอาสาช่วยเหลือสังคม การขบั เคลื่อนนโยบายและมาตรการต่าง ไดแ้ก่ มาตรการด้าน
การเงินการคลัง มาตรการด้านการศึกษาและมาตรการที่เอ้ือใหป้ ระชาชน เอกชน และข้าราชการ
เขา้ร่วมในงานอาสาสมคัร รวมท้งัการพฒั นากลไกในการส่งเสริมเรื่องการให้และการอาสา
ช่วยเหลือสังคมท้งัในภาวะปกติและในภาวะวกิฤติอีกท้งัศูนยค์ ุณธรรมเป็นอีกหน่วยงานหน่ึงที่มี
ส่วนในผลกัดนัจิตอาสาใหเ้กิดข้ึนในสังคมไทยโดยนโยบายของศูนยค์ ุณธรรมในปี2550-2552
ให้ความส าคัญและเน้นในเรื่องจิตอาสา โดยการสนับสนุนภาคเอกชนให้มีบทบาทด้าน จิตอาสา
เช่น การสนบั สนุนการพฒั นาคุณธรรมในชุมชนผา่ นกระบวนการของโครงการครอบครัวเขม้แขง็
ด าเนินงานโดย สถาบันรักลูก บริษัท รักลูกแฟมิลี่กรุ๊ป จา กดั มีวัตถุประสงค์ที่จะหาข้อสรุปชุด
ความรู้เพื่อเผยแพร่สู่สังคม (ศูนย์คุณธรรมและสถาบันรักลูก, 2550)
ความหมายจิตอาสา
จากการศึกษาคน้ควา้ขอ้มูลคา วา่ จิตอาสาผศู้ึกษาพบวา่ มีผใู้ชค้า ที่มีความหมายใกลเ้คียง
กบัจิตอาสามากมายเช่น จิตสาธารณะจิตส านึกสาธารณะจิตสา นึกต่อสังคม และพฤติกรรมเอ้ือ
สังคม โดยใหค้วามหมายไวด้งัน้ี
จิตอาสา (Volunteerspirit)
ประวิตร พิสุทธิโสภณ (2552) กล่าววา่ จิตอาสา หมายถึงผทู้ี่มีจิตใจที่เป็นผใู้ห้เช่น
ใหส้ิ่งของใหเ้งิน ใหค้วามช่วยเหลือดว้ยกา ลงัแรงกายแรงสมอง ซึ่งเป็ นการเสียสละ สิ่งที่ตนเองมี
แมก้ระทงั่ เวลาเพื่อเผื่อแผใ่ ห้กบั ส่วนรวมอีกท้งัยงัช่วยลด”อัตตา” หรือความเป็ นตัวเป็ นตนของ
ตนเองลงได้บ้าง
ธานิษฏ์กองแกว้ (2550) กล่าววา่ จิตอาสา หมายถึงคนที่มีจิตใจอาสาช่วยเหลืออยากให้
ผู้อื่นมีความสุขคนที่มาร่วมกิจกรรมจิตอาสาก็คือ“อาสาสมัคร” คือ บุคคลที่อาสาเขา้มาช่วยเหลือ
สังคมด้วยความสมัครใจ เสียสละเพื่อช่วยเหลือผอู้ื่น ป้องกนัแกไ้ขพฒั นาสังคม โดยไม่หวงัสิ่งตอบ
แทนจิตอาสา
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 22) ได้ให้ความหมายของจิตอาสาคือความส านึก
ของบุคคลที่มีต่อสังคมส่วนรวม โดยการเอาใจใส่และการช่วยเหลือผู้ที่มีจิตอาสาจะแสดงออกซึ่ง
พฤติกรรมที่อาสาทา ประโยชน์เพื่อส่วนรวม เช่น การเสียสละเงิน สิ่งของ เวลาแรงกายและ
สติปัญญาเพื่อช่วยเหลือผอู้ื่นและสังคม โดยไม่หวงัผลตอบแทน11
ศูนย์คุณธรรม (2550, หน้า 41) จากการทบทวนเอกสารวิชาการที่เกี่ยวขอ้งกบัการพฒั นา
คุณธรรมจริยธรรม ได้ให้ความหมายจิตอาสา หมายถึงจิตที่พร้อมจะสละเวลาแรงกายสติปัญญา
เพื่อสาธารณประโยชน์เป็ นจิตที่มีความสุขเมื่อได้ท าความดีอนั เกิดจากพ้ืนฐานความคิด4 ประการ
หลักไดแ้ก่
1. เป็นการบา เพญ็ ประโยชน์ต่อส่วนรวมมิใช่เพื่อส่วนตวั
2. เป็ นการกระท าที่เป็ นไปโดยความสมัครใจ
3. เป็นการกระทา ที่ไม่มุ่งหวงัผลตอบแทนในรูปสินจา้งรางวลั
4. เป็นการอุทิศกา ลงักายกา ลงัใจและเวลาให้ส่วนรวม ไม่ใช่อุทิศกา ลงัทรัพย์แต่เพียง
อยา่ งเดียว
โดยสรุป จิตอาสา หมายถึงการเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่การเสียสละเวลา สิ่งของ เงินทอง แรงกาย
สติปัญญา เพื่อสาธารณประโยชน์เป็ นจิตใจที่มีความสุขเมื่อได้ท าความดีการช่วยเหลือผอู้ื่นและ
สังคมเพื่อให้ผู้อื่นมีความสุขด้วยความสมคัรใจและไม่หวงัผลตอบแทน เขา้ร่วมกิจกรรมที่เป็น
สาธารณประโยชน์สา นึกของบุคคลที่มีต่อส่วนรวม เอาใจใส่ป้องกนัแกไ้ขปัญหาสังคม
นอกจากน้ี“จิตอาสา” ในวาระแห่งชาติคือ“ทานและการอาสาสมัคร” แต่มีบางคน
บญั ญตัิคา ข้ึนมาใหม่วา่ “จิตอาสา” บ้าง “จิตสาธารณะ” บ้างฯลฯลว้นมีความหมายตรงกนั คือ
เริ่มจากไม่เบียดเบียนตนเองและคนอื่น แลว้เผอื่ แผแ่ บ่งปันเอ้ือเฟ้ือเก้ือกลูผคู้นและชุมชม (สุจิตต์
วงษ์เทศ, 2550, หน้า 3) ดงัน้นัผศู้ึกษาจึงไดร้วบรวมความหมายของจิตอาสาที่มีความหมาย ที่
เกี่ยวขอ้งดงัต่อไปน้ี
จิตสาธารณะ(Public Mind)
จิตสาธารณะ หรือจิตอาสา หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดข้ึนโดยความสมคัรใจแสดงออกดว้ย
การอาสาไม่มีใครบงัคบั (จิตอาสา, 2552)
เกรียงศกัด์ิเจริญวงศศ์กัด์ิ(2543, หน้า17)ไดใ้หค้วามหมายของจิตสาธารณะวา่ หมายถึง
ความคิดที่ไม่เห็นแก่ตวั มีความปรารถนาที่จะช่วยเหลือ ช่วยแกป้ ัญหาใหแ้ก่ผอู้ื่น หรือสังคม
พยายามฉวยโอกาสที่จะช่วยเหลืออยา่ งจริงจงัและมองโลกในแง่ดีบนพ้ืนฐานของความเป็นจริง
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 20) ได้ให้ความหมายของจิตสาธารณะวา่ หมายถึง
การกระท าของบุคคล ที่มีความปรารถนาและตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ด้วยการดูแล
เอาใจใส่และมีส่วนร่วมในการอาสาทา ประโยชน์เพื่อส่วนรวม
โดยสรุปจิตสาธารณะ หมายถึง พฤติกรรมหรือการกระทา ของบุคคลที่เกิดข้ึนโดย
ความสมัครใจ ปรารถนาที่จะช่วยเหลือ ช่วยแกไ้ขปัญหาใหแ้ก่ผอู้ื่นหรือสังคมและตระหนกัถึง12
ความรับผดิชอบต่อสังคม ดว้ยการเอาใจใส่ดูแลและมีส่วนร่วมในการอาสาทา ประโยชน์เพื่อ
ส่วนรวม
จิตส านึกสาธารณะ(Public Consciousness)
กนิษฐา นิทัศน์พัฒนา (2541, หน้า 8) ไดใ้หค้วามหมายของจิตสา นึกสาธารณะวา่ เป็นคา
เดียวกบัคา วา่ จิตสา นึกทางสังคม หมายถึงการตระหนกัรู้และคา นึงถึงส่วนรวมร่วมกนั หรือค านึงถึง
ผอู้ื่นที่ร่วมความสัมพนัธ์เป็นกลุ่มเดียวกบั ตน
สา นกังานคณะกรรมการวจิยัแห่งชาติ(2542, หน้า 14) ได้ให้ความหมายของจิตส านึก
สาธารณะวา่ หมายถึงการรู้จกัเอาใจใส่เป็นธุระและเขา้ร่วมในเรื่องของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์
ต่อประเทศชาติมีความส านึกและยึดมนั่ ในระบบคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงาม ละอายต่อสิ่งผดิ
เน้นความเรียบร้อย ประหยัดและมีความสมดุลระหวา่ งมนุษยก์ บัธรรมชาติ
หฤทัย อาจปรุ(2544) ให้ความหมายจิตส านึกสาธารณะคือความตระหนักของบุคคลถึง
ปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคม ทา ใหเ้กิดความรู้สึกปรารถนาที่จะช่วยเหลือสังคมตอ้งการเขา้ไปแก้
วิกฤตการณ์โดยรับรู้ถึงสิทธิควบคู่ไปกบั หนา้ที่และความรับผดิชอบ สา นึกถึงพลงัของตนวา่
สามารถร่วมแกป้ ัญหาได้และลงมือกระท า เพื่อใหเ้กิดการแกป้ ัญหาดว้ยวธิีการต่าง ๆ โดยการ
เรียนรู้และแกไ้ขปัญหาร่วมกนักบัคนในสังคม
โดยสรุปจิตส านึกสาธารณะ หมายถึงความตระหนกัของบุคคลถึงปัญหาที่เกิดข้ึนใน
สังคม คา นึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม มีส านึกในระบบคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงามรู้จกัเอาใจใส่
เป็ นธุระ ปรารถนาที่จะช่วยเหลือสังคม ตอ้งการแกไ้ขปัญหาของสังคม ดว้ยการเขา้ไปมีส่วนร่วมใน
เรื่องของส่วนร่วมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
จิตส านึกต่อสังคม (Social Consciousness)
บุญสม หรรษาศิริพจน์(2542, หน้า 71-73) ใชค้า วา่ จิตสา นึกที่ดีในสังคมในที่น้ี
หมายถึง สังคมในชุมชนของตน การปฏิบตัิตนใหม้ีจิตสา นึกที่ดีต่อชุมชนของตน คือการปฏิบัติ
และการมีส่วนร่วมที่ดีในกิจกรรมของชุมชน การช่วยกนัดูชุมชนของตน การใหค้วามร่วมมือการ
เสียสละกา ลงักายกา ลงัทรัพย์เพื่อการรักษาความปลอดภัยในชุมชน เพื่อสาธารณูปโภคในชุมชน
การใหค้วามเป็นมิตรและมีน้า ใจต่อกนั
สุพจน์ทรายแกว้ (2546, หน้า 50) จิตสา นึกต่อสังคม หรือจิตส านึกสาธารณะ หมายถึง
คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกบั การมองเห็นคุณค่า หรือการใหคุ้ณค่าแก่การมีปฏิสัมพนัธ์
ทางสังคมและสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยใู่ นสังคม ที่ไม่มีผใู้ดผหู้ น่ึงเป็นเจา้ของ หรือเป็นสิ่งที่คนในสังคมเป็น
เจา้ของร่วมกนั เป็นสิ่งที่สามารถสังเกตไดจ้ากความรู้สึกนึกคิดหรือพฤติกรรมที่แสดงออกมา13
สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี(2547) จิตสา นึกต่อสังคม หมายถึง ภาวะที่รู้ตัวของบุคคลที่มี
ความโน้มเอียงทางความคิดความรู้สึกก่อนที่จะเขา้ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มี
ส่วนช่วยใหผ้คู้นในสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือไดร้ับการส่งเสริมดา้นต่าง ๆ ในทิศทางที่ดีข้ึน
โดยสรุปจิตส านึกต่อสังคม หมายถึงลักษณะทางจิตใจหรือภาวะที่รู้ตัวของบุคคลที่มี
ความโนม้ เอียงทางความคิดและความรู้สึกเกี่ยวกบัการมองเห็นคุณค่าหรือใหคุ้ณค่าแก่การมี
ปฏิสัมพนัธ์กบั บุคคล หรือสิ่งของที่มีอยใู่ นสังคมที่ไม่มีผใู้ดเป็นเจา้ของ หรือเป็นสิ่งที่เป็นเจา้ของ
ร่วมกนั มีจิตสา นึกที่ดีต่อชุมชนของตน โดยช่วยกนัดูแลสังคมชุมชน เสียสละกา ลงักายกา ลงัทรัพย์
เขา้ร่วมกิจกรรมที่มีส่วนช่วยใหส้ ังคมเกิดความเปลี่ยนแปลง หรือส่งเสริมดา้นต่าง ๆ ในทิศทาง
ที่ดีข้ึน
ท้งัน้ีจากการศึกษาความหมายของพฤติกรรมจิตอาสา ไม่ปรากฏคา ที่จะศึกษาโดยตรง
เกี่ยวกบั พฤติกรรมจิตอาสาผศู้ึกษาจึงไดศ้ึกษาคา วา่ พฤติกรรม และพฤติกรรมเอ้ือสังคมเพิ่มเติม เพื่อ
น ามาใช้ในการอธิบายความหมายของพฤติกรรมจิตอาสาดงัน้ี
ความหมายของพฤติกรรม
จิราภรณ์ สุทธิรักษ์(2545, หน้า 14) ได้ให้ความหมายพฤติกรรม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์
กระท าหรือแสดงออกท้งัที่สังเกตไดแ้ละสังเกตไม่ได้ไม่วา่ จะรู้ตวัหรือไม่ก็ตาม แต่การกระทา และ
การแสดงออกน้นั สามารถวดัไดโ้ดยการใชเ้ครื่องมือช่วยเหลือการสังเกต
สิทธิโชค วรานุสันติกูล(2546, หน้า 14) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรม หมายถึง
การกระทา ของสิ่งมีชีวติ รวมท้งัการกระทา ที่เกิดข้ึนท้งัที่ผกู้ระทา รู้สึกตวัและไม่รู้สึกตวัในขณะ
กระท าและหมายรวมถึงการกระทา ที่สามารถสังเกตไดห้ รือสังเกตไม่ได้
อนุศกัด์ิจินดา (2548, หน้า 18) ได้ให้ความหมายพฤติกรรม หมายถึงการแสดงออกตาม
ความรู้สึกนึกคิดตามสถานการณ์
โดยสรุป พฤติกรรม หมายถึงการกระทา หรือกิจกรรมของบุคคลที่แสดงออกตาม
ความรู้สึกนึกคิดตามสถานการณ์ซึ่งสามารถสังเกตได้และไม่สามารถสังเกตได้ท้งัน้ีสามารถ
วดัไดด้ว้ยการใชเ้ครื่องมือช่วยเหลือการสังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมเอื้อสังคม (Prosocial Behavior)
วันดีละอองทิพรส (2540, หน้า 26) หมายถึง พฤติกรรมอนั เป็นประโยชน์กบั บุคคลอื่น
โดยที่ผแู้สดงพฤติกรรมมีความต้งัใจในการกระทา พฤติกรรม ไม่วา่ จะเป็นการเสียสละเวลา
ทรัพย์สินเงินทองแรงกายแรงใจ หรืออาจเป็นชีวิตเพื่อใหเ้กิดประโยชน์กบั บุคคลอื่น โดยไม่หวงั
สิ่งใดเป็นเครื่องตอบแทนในภายหนา้ พฤติกรรมดงักล่าวแสดงออกมาในรูปของการช่วยเหลือการ
แบ่งปัน และการปลอบโยน14
อรพินทร์ ชูชม (2549, หน้า 3) หมายถึงการที่บุคคลปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบของสังคม
ประพฤติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ช่วยเหลือเก้ือกลูผอู้ื่นและแบ่งปันเครื่องใชส้ิ่งของแก่ผอู้ื่น
Ma, Shek, Cheung, and Lam (2000, pp. 65-78) ใหน้ ิยามพฤติกรรมเอ้ือสังคม คือ
ความเอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่และมีการแสดงออกซ่ึงพฤติกรรมที่สังคมยอมรับหรือพฤติกรรมที่เป็นแบบอยา่ ง
เช่น การใหส้ิ่งของแก่พอ่ แม่การช่วยพาคนพิการขา้มถนน การขอโทษเมื่อท าผิดและการอาสาสมัคร
Deaux, Dane, Wrightsman, and Sigelman (1993, p. 310) สรุปความหมาย ของ
พฤติกรรมเอ้ือสังคม วา่ หมายถึง พฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อผอู้ื่นหรือก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สังคมในทางบวก ซ่ึงเกิดข้ึนไดห้ลายรูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมการช่วยเหลือและการ
ร่วมมือ
Baron and Byrne (2000, p. 395) ให้ความหมาย พฤติกรรมเอ้ือสังคม หมายถึง
การกระทา ที่เป็นประโยชน์กบัผอู้ื่น แต่ไม่มีผลประโยชน์หรือผลกา ไรที่ชดัเจนกบัผกู้ระทา และ
บางคร้ังก็มีความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนกบัผกู้ระทา ได้และอธิบายเพิ่มเติมวา่ ยงัมีอีกหลายคา ที่มี
ความหมายในทา นองเดียวกนั คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือ พฤติกรรมใจบุญ การไม่เห็นแก่ตนและ
ความเป็ นอาสาสมัคร
โดยสรุปพฤติกรรมเอ้ือสังคม หมายถึงการกระทา ที่เป็นประโยชน์ต่อผอู้ื่นหรือ ต่อสังคม
ด้วยความสมัครใจ โดยผแู้สดงมีความต้งัใจในการกระทา พฤติกรรม ประกอบด้วยการเสียสละเวลา
ทรัพย์สินเงินทองกา ลงักายกา ลงัใจโดยไม่หวงัผลตอบแทน การแบ่งปันการช่วยเหลือการร่วมมือ
การปลอบโยน การไม่เห็นแก่ตวั
จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้งกบัจิตอาสาและพฤติกรรมเอ้ือสังคมสามารถสรุป
ไดว้า่ พฤติกรรมจิตอาสา หมายถึงการกระท าของบุคคลที่แสดงออกด้วยการเสียสละเวลาแบ่งปัน
สิ่งของ เงินทองแรงกาย สติปัญญาใหผ้อู้ื่นโดยไม่หวงัผลตอบแทน และมีความสุขเมื่อได้ท าความดี
การช่วยเหลือผอู้ื่นดว้ยความสมคัรใจ ปรารถนาที่จะช่วยเหลือผอู้ื่นใหม้ีความสุขรวมถึงมีจิตสา นึก
ต่อประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ส่วนตน มีจิตสา นึกต่อสังคมและชุมชน โดยช่วยกนัดูแลรักษา เอาใจ
ใส่ต่อสังคม เขา้ร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ตอ้งการแกไ้ขปัญหาของสังคม และ
ตระหนกัถึงความรับผดิชอบต่อสังคม ซ่ึงมีท้งัพฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตได้หรือการกระท าที่
แสดงออกมาให้เห็นได้ท้งัน้ีตอ้งใชเ้ครื่องมือในการช่วยวดัพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรมจิตอาสา
การศึกษาลักษณะที่แสดงออกซึ่งพฤติกรรมจิตอาสาผู้ศึกษาได้รวบรวมแนวคิดจาก
นักวิชาการแนวคิดของพุทธศาสนาด้านจริยธรรม และแนวคิดนักพัฒนา ที่ได้ระบุถึงลักษณะ
พ้ืนฐานที่จา เป็นต่อการดา รงชีวติในสังคมที่แสดงถึงพฤติกรรมจิตอาสา ไวด้งัน้ี15
ณัฐนิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 23) เห็นวา่ คุณลกัษณะของสมาชิกที่ดีและ
สร้างสรรค์สังคม ตามแนวคิดของพระเทพเวที(ประยุทธ์ปยุตโต) เป็ นคุณลักษณะภายในจิตใจและ
สิ่งที่แสดงออกภายนอก ซึ่งควรมีความประพฤติที่วัดได้จากพรหมวิหาร 4 ดงัน้ี
1. เมตตา (ความรัก) คือความปรารถนาดีมีไมตรีตอ้งการช่วยเหลือใหท้ ุกคน
ประสบประโยชน์และความสุข
2. กรุณา (ความสงสาร) คืออยากช่วยเหลือผอู้ื่นใหพ้ นัจากความทุกข์
3. มุทิตาความเบิกบานพลอยยินดียินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข
4. อุเบกขา (ความมีใจเป็ นกลาง) คือการมองโลกตามความจริง โดยวางจิตใจเรียบ
สม ่าเสมอ มนั่ คง เที่ยงตรงการมองเห็นคนที่จะไดร้ับผลดีหรือชวั่ สมควรแก่เหตุที่ตนประกอบ
นอกจากน้ียงัตอ้งมีการสงเคราะห์ผอู้ื่น ที่เรียกวา่ สังคหวัตถุ4 ไดแ้ก่
1. ทาน (ให้ปัน) คือการเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ เสียสละแบ่งปัน ช่วยเหลือ สงเคราะห์ด้วย
ปัจจัยสี่ ทุนหรือทรัพยส์ินสิ่งของ ตลอดจนให้ความรู้ความเข้าใจศิลปวิทยา
2. ปิ ยวาจา (พดูอยา่ งรักกนั ) คือการกล่าวคา สุภาพ ไพเราะ น่าฟัง ช้ีแจงแนะนา สิ่งที่มี
ประโยชน์มีเหตุผลเป็นหลกัฐานชกัจูงในสิ่งที่ดีงาม หรือค าแสดงความเห็นอกเห็นใจ ใหก้า ลงัใจ
รู้จกัพดู ใหเ้กิดความเขา้ใจที่ดีสมานสามัคคีเกิดไมตรีท าใหร้ักใคร่นบัถือและช่วยเหลือเก้ือกลูกนั
3. อัตถจริยา (ทา ประโยชน์แก่เขา) คือ ช่วยเหลือแรงกายและขวนขวายช่วยเหลือ
กิจการต่าง ๆ บ าเพ็ญสาธารณประโยชน์รวมท้งัช่วยแกไ้ขปัญหาและช่วยปรับปรุงส่งเสริมในดา้น
จริยธรรม
4. สมานัตตตา (เอาตัวเข้าสมาน) คือ ท าตัวให้เข้ากบั เขาได้วางตนเสมอต้นเสมอ
ปลายให้ความเสมอภาค ปฏิบตัิสม่า เสมอกนั ต่อคนท้งัหลายไม่เอาเปรียบ และเสมอในสุข ทุกข์คือ
ร่วมทุกข์ร่วมรับรู้ร่วมแกไ้ขปัญหา เพื่อใหเ้กิดประโยชน์สุขร่วมกนั
กรมวิชาการ (2542, อ้างถึงใน วรรณิภา ศุกรียพงศ์, 2546, หน้า 100) ไดก้า หนด
คุณลกัษณะพ้ืนฐานที่จา เป็นต่อการด ารงชีวิตในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ของนกัเรียนระดบั ช้นั
ประถมศึกษาและช้นั มธัยมศึกษาดา้นการช่วยเหลือผอู้ื่น การเสียสละต่อสังคม และความมุ่งมนั่
พฒั นาไวด้งัน้ี
การช่วยเหลือผอู้ื่น หมายถึงการที่บุคคลแสดงพฤติกรรมเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ เมื่อพบ
สถานการณ์ที่ก่อใหเ้กิดความรู้สึกตอ้งการช่วยเหลือและทา ประโยชน์ใหผ้อู้ื่นไดร้ับความสุข
พฤติกรรมที่แสดงออกไดแ้ก่การอ านวยความสะดวกแบ่งปันสิ่งของและใหค้า แนะนา สิ่งที่ถูกที่
ควรแก่ผอู้ื่น ร่วมมือกบัผอู้ื่นในการพฒั นาสังคม16
การเสียสละต่อสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงถึงการใชเ้วลาวา่ งใหเ้กิดประโยชน์ต่อ
สังคม การเสียสละเวลากา ลงักายกา ลงัทรัพย์เพื่อช่วยเหลือผอู้ื่นและสังคม รวมท้งัการเห็นแก่
ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน และรู้จกัเป็นผใู้หม้ ากกวา่ ผรู้ับ พฤติกรรมที่
แสดงออกไดแ้ก่สละกา ลงักายกา ลงัทรัพย์และเวลาช่วยเหลือผอู้ื่นและสังคม เห็นประโยชน์
ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน รู้จกัเป็นผใู้หม้ ากกวา่ ผรู้ับ สละประโยชน์ที่ตนพึงได้รับ
เพื่อแลกกบั ประโยชน์ของคนหมู่ใหญ่หรือคนที่อ่อนแอกวา่ ใชเ้วลาวา่ งใหเ้กิดประโยชน์ต่อสังคม
ความมุ่งมนั่ พฒั นา หมายถึงความรู้สึกต้องการพัฒนาสังคม และพฤติกรรมที่แสดงถึง
ความมุ่งมนั่ และมีความคิดริเริ่ม มาใชใ้นการแกไ้ขปัญหาหรือเพื่อพฒั นาตนเอง พัฒนาสังคม
พฤติกรรมที่แสดงออกไดแ้ก่สนใจในปัญหาและการเปลี่ยนแปลง พร้อมท้งัเสนอความคิดที่จะ
พัฒนาสังคม ต้งัใจที่จะทา งานอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดใหส้ า เร็จตามเป้าหมายที่กา หนดและเป็ นประโยชน์
ต่อสังคม ต้งัใจที่จะทา งานของส่วนรวมจนสา เร็จ
นอกจากน้ีผศู้ึกษาไดร้วบรวมความหมายในรายละเอียดของลกัษณะการช่วยเหลือผอู้ื่น
การเสียสละต่อสังคม และความมุ่งมนั่ พฒั นาไวด้งัน้ี
1. การช่วยเหลือผอู้ื่น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย
ของคา วา่ ช่วยเหลือ หมายถึง ช่วยกิจกรรมของเขาเพื่อใหพ้ ร้อมมูลข้ึน
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 30) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมของนักเรียนที่
แสดงออกต่อผอู้ื่นและคนในสังคมโดยไม่หวงัผลตอบแทน ไดแ้ก่การช่วยเหลือแนะนา สิ่งที่ถูกที่
ควรแก่ผอู้ื่น การให้บริการและอ านวยความสะดวกการมีน้า ใจแบ่งปันสิ่งของใหผ้อู้ื่น
Eisenberg et al. (1984, pp. 101-115อ้างถึงใน วันดีละอองทิพรส, 2540, หน้า 25-26)
ใหค้วามหมายของการช่วยเหลือ(Helping) หมายถึงความพยายามที่จะแบ่งเบาหรือบรรเทา
ความต้องการของผู้อื่น โดยไม่มีอารมณ์เขา้มาเกี่ยวขอ้ง รวมท้งัการช่วยเหลือใหผ้อู้ื่นบรรลุถึง
เป้ าหมายใหข้อ้มูลหรือสิ่งที่ไม่ใช่ของตนเองกบัผอู้ื่น
2. การเสียสละต่อสังคม
นริศรา ริชาร์ดสัน (2546, หน้า 18) ได้ให้ความหมายของการเสียสละ หมายถึง
การแสดงออกของบุคคลในพฤติกรรมดงัต่อไปน้ี
การให้ปัน หมายถึงการช่วยเหลือหรือใหผ้อู้ื่นในดา้นทรัพยส์ิน สิ่งของความรู้
และแรงงาน
การเห็นแก่ส่วนรวม หมายถึงการอุทิศตนทา งานเพื่อสังคมและส่วนรวม
ความมีน้า ใจ หมายถึงความปรารถนาดีต่อผอู้ื่นในดา้นการพดูและการกระทา
โดยใหก้า ลงัใจและแสดงความเห็นใจผอู้ื่น17
การไม่เอาเปรียบผอู้ื่น หมายถึงการสละทรัพย์สิ่งของและแรงงานของตน
เท่ากบั หรือมากกวา่ ผอู้ื่น
อนุศกัด์ิจินดา (2548, หน้า 24) ความเสียสละ หมายถึงการละความเห็นแก่ตวัการใหป้ ัน
แก่คนที่ควรให้ดว้ยกา ลงักายกา ลงัทรัพย์กา ลงัสติปัญญาโดยพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความ
เสียสละไดแ้ก่1) ทางกายคือการช่วยเหลือผอู้ื่นที่ทา กิจการงานที่ไม่มีโทษ ไม่นิ่งดูดาย ช่วยเหลือ
งานสาธารณประโยชน์2) ทางวาจาคือการช่วยแสดงความเห็นอยา่ งตรงไปตรงมาช่วยแกป้ ัญหา
เดือดร้อนแก่คนที่ไม่ทา ผดิ ช่วยคิดหาแนวทางที่ถูกที่ชอบ ช่วยเพิ่มพนู ความรู้ให้แก่ผอู้ื่นตามลา พงั
3) กา ลงัทรัพย์เป็นการแบ่งปันเครื่องอุปโภค บริโภคใหแ้ก่ผทู้ี่ขดัสนและสละทรัพย์เพื่อสาธารณ
กุศล4) ทางใจคือยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุขให้อภัยในความผิดพลาดของผู้อื่นที่ส านึกผิดไม่นึก
สมน้า หนา้เมื่อผอู้ื่นเพลี่ยงพล้า ไม่โลภอยากไดข้องผอู้ื่นมาเป็ นของตน
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 31) ได้ให้ความหมายของการเสียสละต่อสังคม
หมายถึงพฤติกรรมของนกัเรียนที่แสดงออกต่อผอู้ื่นและสังคม ไดแ้ก่การใชเ้วลาวา่ งให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคม การเสียสละเงิน เวลาและแรงกาย เพื่อผู้อื่นและสังคมด้วยความเต็มใจ
3. การมุ่งมนั่ พฒั นาสังคม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ มุ่งมนั่
หมายถึง ต้งัใจอยา่ งแน่วแน่ ส่วนคา วา่ พัฒนา หมายถึง ท าให้เจริญ ดงัน้นัความหมายของคา วา่
มุ่งมนั่ พฒั นา เมื่อนา มารวมคา กนั หมายถึงความต้งัใจอยา่ งแน่วแน่ที่จะทา ใหเ้กิดความเจริญ
พจนานุกรมออนไลน์(2552) ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ ความมุ่งมนั่ โดยใช้ศัพท์
ภาษาองักฤษวา่ Determination ใหค้วามหมายวา่ ความต้งัใจมนั่ ความมุมานะความแน่วแน่
จ านงค์อดิวฒั นสิทธ์ิ(2548, หน้า 116) ได้ให้ความหมายการพัฒนา (Development)
หมายถึงกระบวนการที่นา มาปฏิบตัิเพื่อใหเ้กิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่มีการวางแผนและ
กา หนดเป้าหมายไว้ฉะน้นัการพฒั นาจึงเป็นกระบวนการทา ใหเ้จริญกา้วหนา้ หรือการเปลี่ยนแปลง
ไปสู่ทิศทางที่พึงปรารถนา
การพัฒนาตามหลักของพระพุทธศาสนา ตอ้งดา เนินไปพร้อมกนั 4 ทางคือ
1. การพัฒนาทางด้านกายภาพ
2. การพัฒนาศีลธรรม และ/ หรือการพัฒนาสังคม
3. การพัฒนาทางด้านจิตใจ
4. การพัฒนาทางด้านปัญญา
ซ่ึงในการศึกษาการมุ่งมนั่ พฒั นา ตามหลักการของพระพุทธศาสนาผู้ศึกษาสนใจ
ทา การศึกษาในส่วนที่เกี่ยวขอ้งดงัน้ี1.การพัฒนาสังคม ซึ่งเป็ นกระบวนการฝึ กอบรมบุคคลให้มี18
ศีลใหต้้งัอยใู่ นระเบียบวินยั ไม่เบียดเบียน หรือก่อความเดือดร้อนเสียหายแก่บุคคลอื่นสามารถอยู่
ร่วมกบั บุคคลอื่นไดเ้ป็นอยา่ งดีมีความเอ้ือเฟ้ือเก้ือกลู ต่อบุคคลอื่น และ2.การพัฒนาทางด้านจิตใจ
เป็นความพยายามที่จะฝึกอบรมจิตใจใหเ้ขม้แขง็ใหม้ีความมนคง ั่ และมีความเจริญงอกงามด้วย
คุณธรรมท้งัหลาย เช่น มีเมตตากรุณา มีความขยนั หมนั่ เพียร มีความอดทน มีความสดชื่น เบิกบาน
มีความสงบสุขแจ่มใส เป็ นต้น การพฒั นาทางดา้นจิตใจที่บางทีก็เรียกวา่ การพฒั นาอารมณ์
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 31) ได้ให้ความหมายของความมุ่งมนั่ พฒั นา
หมายถึง พฤติกรรมของนกัเรียนที่แสดงถึงความต้งัใจอยา่ งแน่วแน่ในการเปลี่ยนแปลงใหส้ ังคมดี
ข้ึน ไดแ้ก่การที่นกัเรียนใหค้วามสนใจต่อการเปลี่ยนแปลงหรือปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคม/ ชุมชน
หรือโรงเรียนมีการเสนอแนวคิดในการพัฒนาสังคม/ ชุมชน และโรงเรียนของตน ตลอดจนร่วม
พฒั นากิจกรรมการเสริมสร้างจิตอาสาเพื่อพฒั นาสังคม/ ชุมชน โรงเรียน อยา่ งสร้างสรรคแ์ละ
หลากหลายได้เหมาะสมตามวัย
นอกจากน้ีในการศึกษายงัพบวา่ มีลักษณะที่แสดงพฤติกรรมด้านอื่น ๆ ที่มีความหมาย
คลา้ยคลึงและระบุไดถ้ึงการเป็นผมู้ีความมุ่งมนั่ ในการพฒั นาสังคม หรือความต้งัใจในการทา งานให้
บรรลุผลส าเร็จได้ไดแ้ก่ความรับผิดชอบ และความมีระเบียบวินัย โดยมีรายละเอียดดงัน้ี
ความรับผิดชอบ
ถนอมทรัพย์มะลิซ้อน (2544, หน้า 7, อ้างถึงใน เทวินทร์ พิศวง, 2547, หน้า 15)
ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึงความมุ่งมนั่ ต้งัใจที่จะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความผูกพัน
ความพยายามอยา่ งระเอียดรอบคอบ เพื่อใหบ้ รรลุผลสา เร็จตามความมุ่งหมายและยอมรับ
ผลที่เกิดจากการปฏิบตัิของตน ความเอาใจใส่ไม่ละเลยทอดทิ้งหรือหลีกเลี่ยงการงานน้นั ตรงต่อ
เวลา มีความพยายามที่จะท าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด
จิราภรณ์ สุทธิรักษ์(2545, หน้า 29) ได้ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึงการ
มีความต้งัใจปฏิบตัิหนา้ที่การงาน ด้วยความเพียรพยายามละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ผลส าเร็จตาม
เป้ าหมายยอมรับผลการกระท า พยายามปรับปรุงการปฏิบตัิหนา้ที่ใหด้ียงิ่ ข้ึน ท้งัต่อตนเองและต่อ
สังคม มีส่วนร่วมในการบา เพญ็ ประโยชน์สร้างสรรคค์วามเจริญใหแ้ก่ชุมชน
เทวินทร์พิศวง (2547, หน้า 16) ได้ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง
การเอาใจใส่ต่อการเรียน และการทา งานโดยไม่ละเลยทอดทิ้งหลีกเลี่ยง มุ่งมนั่ ทา งานที่ไดร้ับ
มอบหมายและติดตามผลงานที่ได้กระท าลงไปเพื่อแกไ้ขใหเ้ป็นผลสา เร็จที่ดีข้ึน ยอมรับในสิ่งที่
ตนเองกระทา ลงไปท้งัในดา้นดีและดา้นไม่ดี19
ความมีระเบียบวินัย
พยงุศกัด์ิสนเทศ(2530, หน้า 31-34) ให้ความหมายของความมีระเบียบวินัย หมายถึง
การควบคุมความประพฤติปฏิบตัิใหถู้กตอ้งเหมาะสมกบัจรรยามารยาท ข้อบังคับ ข้อตกลง
กฎหมายและศีลธรรม
กลัยา ศรีปาน (2542, หน้า 32) ให้ความหมายของความมีระเบียบวินัย หมายถึง
การประพฤติปฏิบตัิอยา่ งมีระเบียบของบุคคลซ่ึงกระทา สิ่งใดสิ่งหน่ึงตามระเบียบกฎเกณฑข์อง
สังคม เพื่อความสงบสุขในชีวิตของตนเองและความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของสังคม
นอกจากน้ี(ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2552, หน้า 3) ได้ให้ความหมาย
คา วา่ มีวินัย หมายถึงผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบันองค์กรและ
ประเทศโดยที่ตนยนิดีปฏิบตัิตามอยา่ งเตม็ใจและต้งัใจยดึมนั่ ในระเบียบแบบแผนขอ้บงัคบัและข้อ
ปฏิบัติรวมถึงการมีวินยัท้งัต่อตนเองและสังคม
สายพิณ ปรุงสวสัด์ิ(2538, หน้า 8-9, อ้างถึงใน จิราภรณ์ สุทธิรักษ์, 2545, หน้า 27)
กล่าววา่ ผู้มีลักษณะความมีวินัยในตนเองมีพฤติกรรมที่แสดงออกส าคัญ ๆ ดงัน้ี
1. มีความเชื่อมนั่ ในตนเอง หมายถึง มีความแน่ใจ หรือมนั่ ใจในความสามารถของ
ตนเองวา่ จะกระทา สิ่งต่าง ๆ ไดอ้ยา่ งถูกตอ้งและมีเหตุผลและเชื่อวา่ การที่ประสบความสา เร็จได้
ตามที่บุคคลน้นั ต้งัใจไวเ้ป็นผลจากความสามารถ ทักษะ หรือการกระท าของตนเอง
2. มีความเป็ นผู้น า หมายถึงความสามารถ ชักจูงแกป้ ัญหาและการดา เนินกิจกรรม
กลุ่มไปสู่เป้าหมายที่กา หนดและรับผดิชอบต่อกลุ่มได้
3. มีความรับผิดชอบ หมายถึง มีความสนใจ มีความต้งัใจที่จะดา เนินงานและ ติดตาม
ผลงานที่ได้กระท าแล้ว เพื่อปรับปรุงแกไ้ขเป็นผลสา เร็จไปดว้ยดียอมรับในสิ่งที่ตนกระทา ไปท้งัใน
ด้านที่เป็ นผลดีและผลเสีย
4. มีความตรงต่อเวลา รู้จักกาลเทศะ หมายถึง ทา งานที่ไดร้ับมอบหมายหรือกิจกรรม
อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงให้ตรงต่อเวลา หรือทา ใหส้ า เร็จตามเวลาที่กา หนดให้ตลอดจนรู้วา่ จะประพฤติ
อยา่ งไรใหเ้หมาะสมกบั เวลาและโอกาส
5. เคารพสิทธิของผู้อื่น หมายถึงไม่ประพฤติปฏิบตัิกา้วก่ายหรือล่วงล้า สิทธิของผู้อื่น
6. มีระเบียบและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม หมายถึง ประพฤติโดยไม่ขดักบักฎ
ขอ้บงัคบัของสังคมทวั่ ไป รวมท้งัปฏิบตัิตามระเบียบสังคมที่กา หนดไวต้่อหนา้และลบั หลงั
7. มีลกัษณะมุ่งอนาคต หมายถึง สามารถอดใจรอผลที่จะเกิดข้ึนในอนาคตที่ดีกวา่ ใน
ปัจจุบันได้20
ปฏิญญาอาสาสมัครไทยคดัยอ่ จากคู่มือการปฏิบตัิงาน อาสาสมัครพัฒนาสังคม และ
ความมนั่ คงของมนุษย์ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของเอกสารการอบรมโครงการฝึกอบรมอาสาสมคัรและ
เจ้าหน้าที่บรรเทาสาธารณภัยของมูลนิธิปอเต็กตึ๊ง มหาวทิยาหวัเฉียวเฉลิมพระเกียรติวิทยาเขตยศเส
วันเสาร์ที่30 กรกฎาคม 2548 (ดวงใจ ทองหล่อ, 2549, หน้า 29-30) ไดก้ล่าวถึงอาสาสมคัร ที่พึง
ประสงค์ต้องมีจิตวิญญาณของอาสาสมัคร เป็นผปู้ ฏิบตัิงานดว้ยความสมคัรใจเพื่อประโยชน์แก่
ประชาชน สังคม และประเทศชาติโดยไม่หวงัสิ่งตอบแทน เป็ นผู้มีอุดมการณ์โดยถือประโยชน์
ส่วนรวมเหนือกวา่ ประโยชน์ส่วนตน ท างานด้วยความเสียสละกระตือรือร้นเอ้ืออาทร บริสุทธ์ิใจ
และมีศรัทธาที่จะท างานอาสาสมัครโดยแยกองคป์ ระกอบออกเป็นรายละเอียดไดด้งัต่อไปน้ี
1. มีจิตวิญญาณ คือ พร้อมที่จะท าหน้าที่อาสาสมัครทุกเวลา ไม่วา่ จะเป็นในเวลา
ที่ทา งานอยู่หรือท างานอื่น ๆ เกิดข้ึนดว้ยความสา นึก มีความรับผิดชอบ โดยไม่ตอ้งบอกกล่าว
บงัคบัไม่หวงัสิ่งตอบแทน
2. มีอุดมการณ์มีความมุ่งมนั่ ที่จะประพฤติและปฏิบตัิตนใหเ้ป็นอาสาสมคัรที่ดี
ตามที่ตนเองต้งัเป้าหมายไว้โดยมีสิ่งประกอบต่าง ๆ
ศรัทธา มุ่งมนั่ ที่จะบา เพญ็ ประโยชน์เพื่อผอื่นู้ โดยไม่หวงัสิ่งตอบแทน อยากเป็ น
ผใู้หม้ ากกวา่ ผรู้ับ ท าแล้วมีความสุขใจเป็ นผลตอบแทน
ปัญญา ท างานด้วยปัญญา ใช้ความรอบคอบ เพราะตอ้งพยายามแกไ้ขปัญหาดว้ย
ตวัเองก่อน ไม่ยอ่ ทอ้ ท าจนส าเร็จ มีความถนดัดา้นไหนทา ดา้นน้นั จะท าให้ได้ผลส าเร็จสูงสุด
จริยธรรม แยกเป็ น จริย+ธรรม คือ มีความประพฤติดีกริยาดีเป็ นรากฐานทาง
ความคิดของผคู้นต่อใหเ้กิดแนวทางปฏิบตัิซ่ึงมีท้งัแนวทางภายนอกและภายใน แนวทางภายนอก
เช่น กฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ ส่วนแนวทางภายใน คือข้อบังคับในจิตใจตนเอง ซ่ึงจะส่งผล
บังคับให้แนวทางการปฏิบัติภายนอกถูกต้องตามไปด้วยดงัน้นั อาสาสมัครที่ดีควรจะฝึ กฝนพัฒนา
ตนโดยยดึหลกัจริยธรรมเป็นแนวทางดงัน้ี
มีพรมวหิารธรรมต่อผทู้ี่เราเกี่ยวขอ้งดว้ยคือ
เมตตา หมายถึง ความรัก ปรารถนาจะให้เป็ นสุข
กรุณา หมายถึง ความสงสารอยากช่วยใหพ้ น้ ทุกข์
มุทิตา หมายถึง ความยินดีเมื่อผู้อื่นมีสุข
อุเบกขา หมายถึง ความวางใจเป็ นกลาง
มีสังคหะวัตถุ4 ต่อการอยรู่ ่วมกนั คือ
ทาน หมายถึง การเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่
ปิ ยวาจา หมายถึง พดูจาอ่อนหวานดี21
อัตถะจริยา หมายถึง บา เพญ็ ตนใหเ้ป็นประโยชน์ต่อผอู้ื่น
สมานัตตา หมายถึง การวางตนให้เหมาะสม
ดังน้นั ในการศึกษาลกัษณะที่แสดงออกถึงพฤติกรรมจิตอาสา สามารถสรุป
ลักษณะที่แสดงออกถึงพฤติกรรมจิตอาสา ไดด้งัน้ี
ลักษณะพฤติกรรมจิตอาสา หมายถึงการกระท าของบุคคลที่แสดงออกถึงลักษณะ
พฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้ไดแ้ก่พฤติกรรมการช่วยเหลือผอู้ื่น พฤติกรรมการเสียสละเพื่อสังคม
พฤติกรรมมุ่งมนั่ พฒั นาสังคม แสดงออกถึงลักษณะพฤติกรรมความรับผิดชอบ และพฤติกรรมมี
ระเบียบวินัย พฤติกรรมจิตส านึกสาธารณะแสดงออกถึงลักษณะพฤติกรรมบ าเพ็ญประโยชน์และ
พฤติกรรมดูแลรักษาสาธารณสมบัติโดยแต่ละพฤติกรรมมีลกัษณะดงัน้ี
1. การช่วยเหลือผอู้ื่น หมายถึงการแสดงลกัษณะโดยมีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผเ่มื่อเกิด
สถานการณ์ที่ทา ใหเ้กิดความรู้สึกตอ้งการช่วยเหลือ หรือทา ประโยชน์ใหผ้อู้ื่นไดร้ับความสุขไดแ้ก่
การอ านวยความสะดวกแบ่งปันสิ่งของ ใหค้า แนะนา และชกัจูงไปในทางที่ถูกที่ควรแก่ผอู้ื่น หรือ
การใหก้า ลงัใจ ปลอบใจเป็นการกระทา ที่ไม่หวงัผลตอบแทน
2. การเสียสละเพื่อสังคม หมายถึงการแสดงลกัษณะถึงความมีน้า ใจการสละเวลา เงิน
สิ่งของแรงกายเพื่อช่วยเหลือผอู้ื่น และการใชเ้วลาวา่ งใหเ้กิดประโยชน์แก่สังคม เป็ นการกระท า
ดว้ยความเตม็ใจไม่มีใครบงัคบั
3. มุ่งมนั่ พฒั นาสังคม ในที่น้ีหมายถึงพฤติกรรมที่แสดงถึงความต้งัใจในการที่จะทา ให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึนต่อสังคม ประกอบด้วยพฤติกรรมที่แสดงลักษณะดงัน้ี
ความรับผดิชอบต่อสังคม คือ ต้งัใจศึกษาเล่าเรียน กล้าเสนอความคิดเห็นในทางที่
สร้างสรรค์สังคม ไดแ้ก่การต้งัใจทา งานที่ไดร้ับมอบหมายจนส าเร็จโดยไม่ละทิ้งหรือหลีกเลี่ยงการ
ท างาน มีความเพียรพยายาม ช่วยเหลือผอู้ื่น สนใจปัญหาของสังคมและเสนอความคิดในการแกไ้ข
ปัญหา
มีระเบียบวินัยคือ ประพฤติโดยไม่ขดักบักฎขอ้บงัคบัของสังคมทวั่ ไปไม่ประพฤติ
กา้วก่ายหรือล่วงล้า สิทธิของผอู้ื่น กระทา สิ่งต่าง ๆ อยา่ งถูกต้องและใช้เหตุผล มีความเป็ นผู้น า โดย
มีความสามารถในการชักจูงแกไ้ขปัญหาและดา เนินกิจกรรมไดต้ามเป้าหมาย
4. จิตส านึกสาธารณะในที่น้ีหมายถึง พฤติกรรมที่มีผลจากการตระหนกัถึงคุณค่าใน
การใชส้ิ่งของที่เป็นของส่วนรวมร่วมกนั และการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ไดแ้ก่
การบ าเพ็ญประโยชน์คือการประพฤติตนที่ทา แลว้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผอู้ื่น และ
สังคม การใหค้วามร่วมมือในการทา กิจกรรมต่าง ๆ ในสังคมหรือชุมชน22
การดูแลรักษาสาธารณสมบัติคือการหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระท า ที่จะทา ใหเ้กิด
ความเสียหายต่อของส่วนรวมที่ใชป้ ระโยชน์ร่วมกนัของกลุ่ม การถือเป็นหนา้ที่ที่จะมีส่วนร่วมใน
การดูแลรักษาสมบตัิของส่วนรวมในวสิัยที่ตนสามารถทา ได้และการเคารพสิทธิในการใช้ของ
ส่วนรวมที่ใชป้ ระโยชน์ร่วมกนัของกลุ่ม โดยไม่ยดึครองของส่วนรวมน้นั มาเป็นของตนเอง
ตลอดจนไม่ปิดก้นัโอกาสของบุคคลอื่นที่จะใชข้องส่วนรวม
องค์ประกอบของผู้มีจิตอาสา
สมพงษ์สิงหะพล(2542, หน้า 15-16) ไดก้ล่าวถึงองคป์ ระกอบของจิตสา นึกวา่ มีอยู่
3 ด้านหลัก ๆ คือ
1. จิตสา นึกเกี่ยวกบั ตนเอง (Self Consciousness) เป็ นจิตส านึกเพื่อพัฒนาตนเอง ท าให้
ตนเองเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ยงิ่ ข้ึน เป็ นจิตส านึกแบบคลาสสิกที่ทุกสังคมพยายามเหมือนกนั ที่จะ
สร้างใหเ้กิดข้ึนได้เช่น ความขยัน ความรับผิดชอบ เป็ นต้น
2. จิตสา นึกเกี่ยวกบัผอู้ื่น (Others Oriented Consciousness) เป็ นจิตส านึกของ
ความสัมพนัธ์ระหวา่ งบุคคลของคนในกลุ่มชนหน่ึง สังคมหนึ่ง เช่น ความเห็นอกเห็นใจ
ความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ เป็ นต้น
3. จิตสา นึกเกี่ยวกบั สังคมหรือจิตสา นึกสาธารณะ(Social or Public Consciousness)
เป็นจิตสา นึกที่ตระหนกัถึงความสา คญั ในการอยรู่ ่วมกนั หรือคา นึงถึงผอู้ื่นที่ร่วมความสัมพนัธ์เป็น
กลุ่มเดียวกนั เช่น จิตสา นึกดา้นเศรษฐกิจจิตส านึกด้านการเมืองจิตสา นึกดา้นสิ่งแวดลอ้ ม จิตส านึก
ด้านสุขภาพ เป็ นต้น
สุพจน์ทรายแกว้ (2546, หน้า 38-39) กล่าววา่ จิตส านึกของบุคคลเป็ นสภาวะทางจิตใจ
ก่อนการแสดงออกเชิงพฤติกรรมทางกายของบุคคล ซึ่งเป็ นผลมาจากทัศนคติบรรทัดฐานทาง
สังคม นิสัยและผลคาดวา่ จะไดร้ับหลงัจากการทา พฤติกรรมน้นั โดยการก่อตวัของจิตสา นึกเป็น
กระบวนการก่อรูปที่มีความต่อเนื่อง ยากที่จะกา หนดแยกแยะ หรือทา การจดัลา ดบั ช้นั เพื่อบ่งช้ีวา่
บุคคลมีความรู้สึกอยทู่ ี่ใดไดอ้ยา่ งชดัเจน และยงัมีความเกี่ยวขอ้งกบัคุณลกัษณะทางปัญญาและการ
กระทา ของมนุษยผ์า่ นการเรียนรู้ที่มีองคป์ ระกอบส าคัญ 3 ส่วน ดงัน้ี
คุณลักษณะด้านพุทธิพิสัย หมายถึงการได้รับรู้(Cognitive) หรือการมีประสบการณ์
ตรงกบั สิ่งต่าง ๆ ท้งัที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมผา่ นประสาทสัมผสั ต่าง ๆ ท าให้บุคคลรู้จักหรือ
ระลึกถึงมีความเข้าใจ สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์
และประเมินคุณค่าของสิ่งดงักล่าวได้23
คุณลักษณะด้านจิตพิสัย หมายถึงความรู้สึกทางจิตใจ (Affection) ไดแ้ก่ความสนใจหรือ
ใฝ่ใจในสิ่งดงักล่าวโดยมีปฏิกิริยาตอบสนองการเห็นหรือใหคุ้ณค่าการจดัระบบของคุณค่าและ
สร้างคุณลักษณะนิสัย
คุณลักษณะทางด้านทักษะพิสัย หมายถึง พฤติกรรม (Behavior) หรือการแสดงออกที่
สามารถสังเกตรูปแบบความประพฤติไดอ้ยา่ งชดัเจน เรียกวา่ บุคลิกภาพจิตสา นึกของบุคคลจึงเป็น
ผลมาจากการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนภายหลงัจากมีประสบการณ์ตรงกบั สิ่งเร้าการรับรู้ช่วยเสริมสร้าง
ความรู้ใหแ้ก่บุคคลตามกระบวนการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ ทา ใหไ้ดท้ รัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพผา่ น
กระบวนการการจดัการศึกษาซ่ึงในทางสังคมศาสตร์จะเรียกกิจกรรมหรือกระบวนการดงักล่าววา่
เป็นการกล่อมเกลาทางสังคม (Socialization) อนั เป็นกระบวนการที่มีผลทา ใหส้ มาชิกของสังคมเกิด
การรับรู้มีจิตส านึกและพฤติกรรมที่พึงประสงค์โดยกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม เพื่อ
เสริมสร้างการเรียนรู้ให้บุคคลมีการรับรู้มีจิตส านึก(มีค่านิยม ความเชื่อ) มีบุคลิกภาพหรือมี
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
ลัดดาวัลย์เกษมเนตร(2547, หน้า 2-3) ได้ศึกษารูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับ
ประถมศึกษาให้มีจิตสาธารณะ:การศึกษาระยะยาวและใช้องค์ประกอบของจิตสาธารณะเป็ น 3
องค์ประกอบ คือ
1. การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระท า ที่จะท าให้เกิดความเสียหายต่อของส่วนรวมที่ใช้
ประโยชน์ร่วมกนัของกลุ่ม
2. การถือเป็นหนา้ที่ที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสมบตัิของส่วนรวมในวสิัยที่ตน
สามารถท าได้
3. การเคารพสิทธิในการใชข้องส่วนรวมที่ใชป้ ระโยชน์ร่วมกนัของกลุ่ม โดยไม่ยดึครอง
ของส่วนรวมน้นั มาเป็นของตนเอง ตลอดจนไม่ปิดก้นัโอกาสของบุคคลอื่นที่จะใชข้องส่วนรวม
จากการทบทวนองค์ประกอบของผู้มีจิตอาสา สามารถสรุปไดว้า่ องค์ประกอบของการมี
จิตอาสา ประกอบด้วย 1. จิตส านึกในบุคคลมี3 ด้าน คือจิตสา นึกเกี่ยวกบั ตนเองจิตสา นึกเกี่ยวกบั
ผู้อื่น จิตสา นึกเกี่ยวกบั สังคมหรือจิตสา นึกสาธารณะ2. พฤติกรรมการกระท าของบุคคล ที่เป็ น
ประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกนั เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ ม หรือสมบตัิของส่วนรวมการใช้
ทรัพยากรอยา่ งประหยดัและรู้คุณค่าและ3.การเรียนรู้ของบุคคลโดยไดร้ับการปลูกฝังและส่งเสริม
เกิดกระบวนการเรียนรู้โดยเสริมทักษะในการจัดประสบการณ์ได้ปฏิบัติจริง เพื่อสามารถปรับตัว
ใหเ้ขา้กบั สถานการณ์ต่าง ๆ ควบคู่กบัการเสริมสร้างทศันคติที่ดีให้รู้จกัเห็นคุณค่าและประโยชน์
ของสมบตัิส่วนรวม24
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจิตอาสา
การศึกษาปัจจยัที่ก่อใหเ้กิดพฤติกรรมน้นั สามารถศึกษาได้2 ประเภท คือ ประเภทแรก
เป็ นปัจจัยจากภายในตัวบุคคลที่เป็ นลักษณะทางจิต เช่น เจตคติหรือทัศนคติบุคลิกภาพ การรับรู้
ดา้นต่าง ๆ ส่วนอีกประเภทหน่ึงเป็นปัจจยัภายนอกตัวบุคคลเช่น สภาพแวดล้อมทางสังคมและ
วัฒนธรรมเป็ นต้น โดยปัจจยัท้งั 2 ที่ใชใ้นการศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เน้นความส าคัญ
ของการ มีปฏิสัมพนัธ์กนัระหวา่ งบุคคลซ่ึงเป็นลกัษณะทางจิตที่เป็นสาเหตุภายในตวับุคคลกบั
สภาพแวดล้อมที่เป็ นสาเหตุภายนอกตัวบุคคล ปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนมีความเชื่อมโยงและต่อเนื่องกนั
ท้งัน้ีเพราะปัจจยัภายในบุคคลหรือปัจจยัภายนอกเพียงดา้นใดดา้นหน่ึงไม่สามารถเป็นตวับ่งช้ี
พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลได้เพราะพฤติกรรมเป็นผลจากการกระทา ของกระบวนการต่อเนื่อง
ของปฏิสัมพนัธ์หรือเป็นผลสะทอ้นกลบัระหวา่ งบุคคลกบั สภาพแวดลอ้ มที่บุคคลเผชิญอยู่
(Magnusson & Endler, 1977, pp. 3-4)
ไพบูลย์วัฒนศิริธรรม และสังคม สัญจร(2543, หน้า13) ไดอ้ธิบายวา่การมีจิตสาธารณะ
น้นั เป็นสิ่งที่เกิดตามวถิีการดา เนินชีวิตของแต่ละบุคคล สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ต้งัแต่ระดับ
ครอบครัว ชุมชน มีผลต่อการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมของบุคคลซ่ึงสรุปวา่ จิตสา นึกสาธารณะหรือ
จิตสา นึกทางสังคมอยภู่ ายใตอ้ิทธิพลของปัจจยัแวดลอ้ มท้งัภายในและภายนอกดงัน้ี
สา นึกที่เกิดจากภายใน หมายถึงการครุ่นคิดไตร่ตรอง ตรึกตรองของคนแต่ละคนในการ
พิจารณาตดัสินเชิงการใหคุ้ณค่าและความดีงาม ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมและการประพฤติปฏิบตัิ
โดยเฉพาะการปฏิบัติทางจิตใจเพื่อขัดเกลาตัวเองให้เป็ นไปทางใดทางหนึ่ง ฉะน้นั มนุษยท์ ุกคนลว้น
สามารถสร้างส านึกให้ตนเองได้ซ่ึงเกิดจากการเรียนรู้การมองเห็น การคิดฯลฯแล้วน ามาพิจารณา
เพื่อตดัสินใจวา่ ตอ้งการสร้างสา นึกแบบใดก็มีการฝึกฝนและสั่งสมสา นึกแบบน้นั
สา นึกที่เกิดจากปัจจยัภายนอกเมื่อมนุษยอ์ยใู่ นสังคม สภาพแวดลอ้ มยอ่ มมีอิทธิพลใน
การอบรมกล่อมเกลาและสะสมการรับรู้ทีละเล็กละนอ้ยจนเกิดเป็นรูปแบบอนั หลากหลายของ
สา นึกในลกัษณะของการตดัสินและแยกแยะวา่ อะไรดี-ไม่ดีอะไรควร-ไม่ควรกระบวนการในการ
พัฒนาจิตส านึกในคน ๆ หนึ่ง มีที่มาจากสภาพแวดล้อมทางสังคม เริ่มต้งัแต่พอ่ แม่ญาติเพื่อน
สื่อมวลชน คนทวั่ ไป ฯลฯ ตลอดจนระดบั ที่สูงข้ึน เช่น องค์กรวัฒนธรรม ประเพณีความเชื่อฯลฯ
ซ่ึงลว้นมีส่วนในการสร้างสา นึกท้งัทางดีและทางเลวการปฏิสัมพนัธ์ระหวา่ งปัจจยัภายในกบั ปัจจยั
ภายนอกต่อการเกิดจิตสา นึกปัจจยัภายในและปัจจยัภายนอกเป็นปฏิสัมพนัธ์ที่ต่อเนื่องกนั ไม่มีตน้
ไม่มีปลาย สา นึกที่มาจากภายนอกเป็นการเขา้มาโดยธรรมชาติกระทบต่อจิตใจความรู้สึกนึกคิด
ของคน แลว้กลายเป็นสา นึกธรรมชาติและมกัไม่รู้ตวั แต่สา นึกที่เกิดจากภายในเป็ นการจงใจเป็ น
การเลือกสรร รู้ตวัสร้างข้ึนเองแท้จริงทุกขณะจิตมีการปรับเปลี่ยน มีการตอบโตร้ะหวา่ งกนั สิ่งที่มา25
กระทบภายนอกและสิ่งที่คิดเองจากภายใน การที่จะทา ใหค้ นมีสา นึกที่ดีจะตอ้งทา ท้งัสองทางพร้อม
กนั ทางหน่ึงตอ้งส่งเสริมให้เกิดความรักและสร้างสา นึกที่ดีใหตนเอง ้ พร้อมกบั พยายามหาวธิีการ
ผลักดัน ส่งเสริม รณรงคใ์หส้ ังคมโดยทวั่ ไปท้งักลุ่มคนและองคก์รมีการสร้างกิจกรรมหรือมี
โครงการที่จะนา ไปสู่การสร้างจิตสา นึกที่ดี
ในการศึกษาปัจจยัที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจิตอาสาในคร้ังน้ีผู้ศึกษาได้ท าการศึกษาแนวคิด
ที่เกี่ยวขอ้งในการกา หนดปัจจยัที่มีความเกี่ยวขอ้งกบั พฤติกรรมจิตอาสา โดยปัจจยัที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมจิตอาสา ประกอบด้วย3 ปัจจัยคือ1) ปัจจยัส่วนบุคคลไดแ้ก่การเขา้ร่วมกิจกรรมกบั
กองพลฯ และชุมชน 2) ปัจจยัภายในซ่ึงเกิดข้ึนจากความรู้สึกนึกคิดของบุคคลไดแ้ก่ทัศนคติเชิง
จริยธรรม 3) ปัจจัยภายนอก ซ่ึงไดร้ับการส่งเสริมและสนบั สนุนทางสังคม ไดแ้ก่การสนับสนุนทาง
สังคม ประกอบด้วยการสนับสนุนทางด้านอารมณ์การสนับสนุนทางด้านปัญญาและ
การสนับสนุนทางดา้นสิ่งของ
ท้งัน้ีผศู้ึกษาจึงขอกล่าวรายละเอียดของปัจจยัที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจิตอาสาโดยมี
รายละเอียดเป็นลา ดบัดงัน้ี
1. ปัจจยัส่วนบุคคล
ปัจจยัส่วนบุคคลไดแ้ก่การเขา้ร่วมกิจกรรม ซึ่งสถาบันทางสังคมควรสนับสนุนให้
ประชาชนแต่ละช่วงวยัมีส่วนร่วมในการทา กิจกรรมเพื่อสังคม ที่เป็นประโยชน์ท้งัต่อตวัเองและ
สังคม (สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี, 2547, หน้า 68) ได้ศึกษาปัจจัยและกระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นา
จิตสา นึกต่อสังคมของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั กลุ่มตวัอยา่ งคือนกัศึกษาระดบั ปริญญาตรีของ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นปีการศึกษา 2547 จ านวน 342 คน พบวา่ การที่นิสิตให้ความสนใจและ
เขา้ร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอยา่ งสม่า เสมอเป็นการพฒั นาจิตสา นึกต่อสังคมได้
นอกจากน้ี(ฆนธรส ไชยสุต, 2548, หน้า 51-53) ไดศ้ึกษาทศันคติและปัจจยัที่มีผลต่อการเขา้ร่วม
กิจกรรมของนกัศึกษาคณะวิจิตรศิลป์มหาวทิยาลยัเชียงใหม่ปี การศึกษา 2547 จ านวน 205 คน
พบวา่ ส่วนใหญ่นกัศึกษาจะเขา้ร่วมกิจกรรมเป็นบางคร้ังและผปู้กครองมีส่วนสนบั สนุนในการ
เขา้ร่วมกิจกรรม เวลาที่นกัศึกษาใชใ้นการเขา้ร่วมกิจกรรม ไดแ้ก่ เวลาวา่ งระหวา่ งเรียน รองลงมา
ไดแ้ก่วันหยุดเสาร์-อาทิตย์และวนัศุกร์ที่ไม่มีการเรียนการสอน จา นวนในการจดักิจกรรม
ส่วนใหญ่คิดวา่ กิจกรรมท้งัของคณะวจิิตรศิลป์และกิจกรรมของมหาวทิยาลยัมีความเพียงพอแลว้
และมีความเหมาะสม มูลนิธิสยามกมั มาจลธนาคารไทยพาณิชย์จา กดั (มหาชน) เอกสารบันทึก
ความคิดประสบการณ์และกระบวนการท างานของเยาวชนจิตอาสาในโรงพยาบาล พบวา่
การสนบั สนุนใหม้ีประสบการณ์ในการทา กิจกรรมจิตอาสา ท าให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ตัวเองคือเห็นคุณค่าในตวัเอง มีความอ่อนโยน เห็นอกเห็นใจผู้อื่น รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น26
รู้จักเสียสละและรู้จกัใชเ้วลาวา่ งใหเ้ป็นประโยชน์ดงัตวัอยา่ ง นักเรียนโรงเรียนกุนนทีรุทธาราม
วิทยาคม ที่รู้สึกวา่ กิจกรรมที่ผมทา และเพื่อน ๆ ได้ท ามันสร้างความสุขจริง ๆ และเติมสิ่งดีๆ ใหก้ บั
ชีวิตพัฒนาระดับจิตใจตัวเอง ใหเ้ป็นคนมีน้า ใจและอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผก่ บัผอู้ื่น และอยากจะบอกกบั
เพื่อน ๆ วา่ อยา่ กลวัวา่ ความสนุกช่วงชีวติวยัรุ่นจะหายไป การทา กิจกรรมจิตอาสาใหท้ ้งัความสนุก
และความสุขและที่ส าคัญได้สร้างความสุขให้น้อง ๆ ที่ป่ วย(มูลนิธิสยามกมั มาจล, 2552)
ดงัน้นั ปัจจยัส่วนบุคคลในการเขา้ร่วมกิจกรรมจึงเป็นปัจจยัสา คญั อีกประการหน่ึงที่จะ
ส่งเสริมใหป้ ระชาชนในกองพลฯ มีจิตอาสา ซ่ึงในการศึกษาคร้ังน้ีผศู้ึกษาจะทา การศึกษาวา่
ประชาชนในกองพลฯเขา้ร่วมกิจกรรมหรือไม่เคยเขา้ร่วมกิจกรรมกบักองพลฯและกิจกรรมที่ทา
ประโยชน์ต่อไป
2. ปัจจัยภายใน
ในการศึกษาปัจจัยภายในซึ่งถือเป็ นลักษณะทางจิตของบุคคลไดแ้ก่ทัศนคติ ความรู้สึก
ทางจิตใจความคิดความต้องการ สา นึกที่เกิดข้ึนภายในจิตใจ ที่ส่งผลต่อการแสดงออก
ทางพฤติกรรมจิตอาสา โดยในการศึกษาคร้ังน้ีมุ่งศึกษาตวัแปรดา้น ทัศนคติเชิงจริยธรรม โดยมี
รายละเอียดในการศึกษาดงัน้ี
ความหมายของทัศนคติ
Wallace and Master (1996, p. 34) ไดใ้หค้วามหมายวา่ ทัศนคติหมายถึงความรู้สึกของ
บุคคลต่อสิ่งหน่ึงสิ่งใดซ่ึงอยบู่ นพ้ืนฐานของการเรียนรู้โดยสรุปก็คือความรู้เชิงประเมินค่าของ
บุคคลที่จะตอบสนองต่อสิ่งใด ๆ ในลักษณะของการประเมิน ประโยชน์คุณและโทษ คุณค่าและ
ความรู้สึกชอบไม่ชอบ เพื่อโนม้ นา ไปสู่ความพร้อมที่จะกระทา หรือแสดงพฤติกรรมที่สอดคลอ้งกบั
ความรู้สึกและการประเมินมาก่อน
สุรางค์โค้วตระกูล(2548, หน้า 336) ได้ใหค้วามหมายวา่ ทศันคติหมายถึงอัชฌาสัย
หรือแนวโนม้ ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนองตอบต่อสิ่งแวดลอ้ มหรือสิ่งเร้า ซ่ึงเป็นไดท้ ้งัคน วัตถุ
สิ่งของ หรือความคิด ทัศนคติอาจจะเป็ นบวกหรือลบ ทศันคติเป็นสิ่งที่เรียนรู้และเป็น
การแสดงออกของค่านิยมและความเชื่อของบุคคล
สิทธิโชค วรานุสันติกูล(2546, หน้า 121) ไดใ้หค้วามหมายวา่ ทัศนคติหมายถึง
ความรู้สึกความเชื่อและแนวโนม้ของพฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อบุคคลหรือสิ่งของ หรือความคิด
ในลกัษณะของการประเมินค่า
โรเจอร์(Roger, 1978) ไดก้ล่าวถึง ทัศนคติวา่ เป็นดชันีช้ีวา่ บุคคลน้นั คิดและรู้สึก
อยา่ งไรกบัคนรอบขา้งวตัถุหรือสิ่งแวดลอ้ มตลอดจนสถานการณ์ต่าง ๆ โดย ทัศนคติน้นั มีรากฐาน
มาจากความเชื่อที่อาจส่งผลถึง พฤติกรรมในอนาคตได้ทัศนคติจึงเป็ นเพียงความพร้อมที่จะ27
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าและเป็ นมิติของการประเมิน เพื่อแสดงวา่ ชอบหรือไม่ชอบ ต่อประเด็นหนึ่ง ๆ
ซึ่งถือเป็ น การสื่อสารภายในบุคคล(Interpersonal Communication) ที่เป็ นผลกระทบมาจากการรับ
สารอนัจะมีผลต่อพฤติกรรม ต่อไป
โดยสรุป ทัศนคติหมายถึงความคิด หรือความรู้ในการประเมินคุณค่าความรู้สึกชอบ
หรือไม่ชอบ และแนวโนม้ของพฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อบุคคล สิ่งของ หรือสิ่งแวดลอ้ มตลอดจน
สถานการณ์ต่าง ๆ ทศันคติเป็นสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้และเป็นการแสดงออกของค่านิยมและความ
เชื่อของบุคคลโดยมีทิศทางบวกหรือลบ
องค์ประกอบทัศนคติ
คมนา วัชรธานินทร์(อ้างถึงใน ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์, 2550, หน้า 70) ทัศนคติที่มีต่อ
พฤติกรรมอาสา หมายถึงลกัษณะทางจิตของบุคคลผกู้ระทา ที่แสดงออกในแง่ของอารมณ์
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรมอาสา ซึ่งมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ1) ความรู้เชิงประเมินวา่
พฤติกรรมน้ีดีมีประโยชน์2) ความรู้สึกชอบต่อพฤติกรรมอาสาพฒั นา ประทิน ศรีเงิน (2534, หน้า
8, อ้างถึงใน ไพโรจน์จ านงผล, 2544, หน้า 8) ไดก้ล่าวถึงองค์ประกอบของทัศนคติประกอบด้วย
3 องค์ประกอบ คือองค์ประกอบด้านความรู้ด้านความรู้สึกและด้านความพร้อมในการกระท า
ซ่ึงอธิบายไดด้งัน้ี
1. องค์ประกอบด้านความรู้(Cognitive Component) ไดแ้ก่ความรู้และแนวคิดที่บุคคล
มีต่อสิ่งเร้าไม่วา่ บุคคลกลุ่ม หรือสถานการณ์ใด ๆ ก็ตาม ความรู้และแนวความคิดดงักล่าวจะเป็นสิ่ง
ที่กา หนดลกัษณะและทิศทางของทศันคติของบุคคลกล่าวคือถ้าบุคคลมีความรู้และแนวคิดต่อสิ่ง
เร้าใดครบถ้วนแล้ว บุคคลน้นัจะมีทศันคติต่อสิ่งเร้าไปในทางบวก หรือทางลบชดัเจนยิ่งข้ึน
2. องค์ประกอบด้านความรู้สึก(Affective Component) ไดแ้ก่อารมณ์หรือ ความรู้สึก
ของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้าอารมณ์หรือความรู้สึกดงักล่าวจะเป็นสิ่งที่กา หนดลกัษณะและทิศทาง
ของทัศนคติของบุคคลกล่าวคือถา้บุคคลมีอารมณ์หรือความรู้สึกที่ดีต่อสิ่งใดบุคคลก็จะมีทศันคติ
ในทางบวกต่อสิ่งน้นั แต่ถา้บุคคลมีอารมณ์หรือความรู้สึกที่ไม่ดีต่อสิ่งใด บุคคลก็จะมีทศันคติ
ในทางลบต่อสิ่งน้นั
3. องค์ประกอบด้านความพร้อมในการกระท า (Behavioral Intention Component)
ไดแ้ก่พฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกต่อสิ่งเร้าอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง พฤติกรรมดงักล่าวจะเป็นสิ่งที่
บอกลักษณะและทิศทางของทัศนคติของบุคคลกล่าวคือถ้าพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออก
ต่อสิ่งเร้าน้นั ชดัเจนแน่นอน ทศันคติก็ยอ่ มมีลกัษณะชดัเจนแน่นอนและมีทิศทางเป็นทางบวกหรือ
ทางลบชัดเจนด้วย28
สุรางค์โค้วตระกูล(2548, หน้า 367)กล่าวถึงลกัษณะของทศันคติโดยผู้ศึกษา สรุป
เน้ือหาที่ใชใ้นการศึกษาดงัน้ี
1. ทศันคติเป็นสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้
2. ทศันคติเป็นแรงจูงใจที่จะทา ใหบ้ ุคคลกลา้เผชิญกบั สิ่งเร้าหรือหลีกเลี่ยงดงัน้นั
ทัศนคติจึงมีทางบวกและทางลบ เช่น ถา้นกัเรียนมีทศันคติบวกต่อวชาคณิตศาสตร์ ิ นักเรียนจะชอบ
เรียนคณิตศาสตร์และเมื่ออยชู่ ้นั มธัยมศึกษาก็จะเลือกเรียนแขนงวทิยาศาสตร์ตรงขา้มกบั นกัเรียน
ที่มีทศันคติลบต่อคณิตศาสตร์ก็จะไม่ชอบหรือไม่มีแรงจูงใจที่จะเรียน เมื่ออยชู่ ้นั มธัยมศึกษาก็จะ
เลือกเรียนทางสายอักษรศาสตร์ทางภาษา เป็ นต้น
3. ทัศนคติประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 อยา่ งคือองค์ประกอบเชิงความรู้สึกอารมณ์
(Affective Componnent) องค์ประกอบเชิงปัญญาหรือความรู้คิด(Cognitive Component)
องค์ประกอบเชิงพฤติกรรม (Behavioral Component)
ความหมายของจริยธรรม
พูนทรัพย์จันทร์พันทร์(2542, หน้า 238) ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ จริยธรรมไวว้า่
จริยธรรม คือความสา นึกผดิถูกอนั เป็นเครื่องกา กบั ใจใหค้ นเรากระทา หรือประพฤติในดา้นของ
ความดีความถูกต้องถ้าเด็กมีคุณธรรมในใจแล้วคุณธรรมน้นั เองจะทา หนา้ที่กา กบั ใหเ้ด็กรู้จกัเลือก
แสดงออกซึ่งพฤติกรรมอันดีงาม พฤติกรรมที่แสดงออกโดยมีคุณธรรมเป็นตวักา กบั นี่เอง เรียกวา่
จริยธรรม
จารึก ถึงลาภ (2539, หน้า 90) ใหค้วามหมายไวว้า่ จริยธรรม หมายถึง หลกัแห่ง
การประพฤติดีปฏิบตัิชอบท้งักายวาจาและใจอนั เป็นสิ่งที่ทุกคนควรประพฤติต่อตนเองและผอู้ื่น
ซ่ึงก่อใหเ้กิดความสุขความเจริญรุ่งเรืองข้ึนในสังคม
ประภาศรีสีหอ าไพ (2540, หน้า 17) ใหค้วามหมายไวว้า่ จริยธรรม หมายถึง หลักความ
ประพฤติที่อบรมกิริยาและปลูกฝังลกัษณะนิสัยใหอ้ยใู่ นครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรม
พรนพ พุกกะพันธุ์(2544, หน้า 6) กล่าววา่ จริยธรรม หมายถึง สิ่งที่ควรประพฤติและ
ประพฤติเหมาะสมในสิ่งที่ถูกตอ้งซ่ึงสังคมยอมรับ เพื่อการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข
ร่มเยน็
โดยสรุป จริยธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติกฎเกณฑต์ ่าง ๆ และส านึกที่สามารถ
แยกแยะพฤติกรรมดี-ไม่ดีเพื่อเป็นเครื่องกบักา ใจใหค้ นกระทา พฤติกรรมที่ดีงาม และถูกต้อง
เป็นสิ่งที่ทุกคนควรประพฤติต่อตนเองและผอู้ื่นซ่ึงก่อให้เกิดความสุขความเจริญรุ่งเรืองข้ึน
ในสังคม29
องค์ประกอบจริยธรรม
เจียมจิต บุญรักษ์(2534, หน้า 10, อ้างถึงใน จิราภรณ์ สุทธิรักษ์, 2545, หน้า 18)ได้
จา แนกองคป์ ระกอบของจริยธรรมตามความคิดเห็นของนกัจิตวทิยาน้นั มีความคลา้ยคลึงกนั แต่
เรียกชื่อต่างกนัออกไป ซ่ึงอาจสรุปไดว้า่ จริยธรรม จ าแนกเป็ น 3 องค์ประกอบ คือ
1. องค์ประกอบทางปัญญา (Cognition) คือ ส่วนที่เป็นความรู้ความเชื่อต่าง ๆ ที่เกี่ยวกบั
พฤติกรรมทางจริยธรรม ซึ่งเป็ นความรู้ความเข้าใจในเหตุผลของความถูกต้องดีงาม สามารถตัดสิน
แยกพฤติกรรมที่ดีที่ถูก ที่ควรออกจากพฤติกรรมที่ไม่ดีไม่ถูกไม่ควร มโนทัศน์อื่นที่ใช้เรียก
องคป์ ระกอบส่วนหน่ึง ไดแ้ก่ความคิดทางจริยธรรม (Moral Thought) ค่านิยมทางจริยธรรม (Moral
Value) ความเชื่อทางจริยธรรม (Moral Judement) การใช้เหตุผลทางจริยธรรม (Maral Reasoning)
และความรู้ความเข้าใจทางจริยธรรม (Moral Cognition)
2. องค์ประกอบทางอารมณ์(Affection) คือความรู้สึกหรือปฏิกิริยาที่มีต่อลกัษณะหรือ
พฤติกรรมเชิงจริยธรรมวา่ ตนชอบหรือไม่ชอบเพียงใด ซ่ึงส่วนใหญ่จะสอดคลอ้งกบัค่านิยมใน
สังคมน้นั องค์ประกอบในดา้นน้ีมีความหมายกวา้งกวา่ ความรู้ความเข้าใจเชิงจริยธรรมของบุคคล
เพราะรวมท้งัความรู้และความรู้สึกในเรื่องน้นั ๆ เขา้ดว้ยกนั และองคป์ ระกอบดา้นน้ียังสามารถ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้มโนทศัน์ที่ใชเ้รียกแทนองคป์ ระกอบน้ีไดแ้ก่ เจตคติทางจริยธรรม
(Moral Attitude) ความรู้สึกทางจริยธรรม (Moral Feeling) และปฏิกิริยาทางจริยธรรม (Moral
Reaction)
3. องค์ประกอบทางพฤติกรรม (Behavior) คือ พฤติกรรมหรือการกระท าที่บุคคล
แสดงต่อตนเอง ต่อผอู้ื่น และต่อสิ่งแวดลอ้ ม เป็นพฤติกรรมที่สามารถตดัสินไดว้า่ ดีหรือไม่ดีถูก
หรือผิดควรหรือไม่ควร ซ่ึงอิทธิพลส่วนหน่ึงที่มีผลต่อการกระทา หรือไม่กระทา พฤติกรรมใดจะ
ข้ึนอยกู่ บัอิทธิพลขององคป์ ระกอบท้งั 2 ประการที่กล่าวมาแลว้ พฤติกรรมเชิงจริยธรรมเป็นสิ่งที่
สังคมใหค้วามสา คญั มากกวา่ ดา้นอื่น ๆ ท้งัน้ีเพราะการกระทา ในทางที่ดีและเลวของบุคคลน้นั
ส่งผลโดยตรงต่อความผาสุกและความทุกขข์องสังคม มโนทศัน์ที่ใชเ้รียกองคป์ ระกอบน้ีไดแ้ก่
ความประพฤติทางจริยธรรม
พฤติกรรมที่สังคมไม่ยอมรับ เช่น การโกงสิ่งของเงินทองหรือคะแนนการลกัขโมย
การกล่าวเทจ็ เป็ นต้น พฤติกรรมเชิงจริยธรรมเป็นสิ่งที่สังคมใหค้วามสา คญั มากกวา่ ดา้นอื่น ๆ ท้งัน้ี
เพราะการกระทา ในทางที่ดีและเลวของบุคคลส่งผลโดยตรงต่อความผาสุกและความทุกขข์องสังคม
สรุปไดว้า่ ความหมายทศันคติเชิงจริยธรรม หมายถึงความคิดความเชื่อในการประเมิน
วา่ พฤติกรรมน้ีดีหรือไม่ดีความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบต่อลกัษณะหรือพฤติกรรมทางจริยธรรม และ
เป็นแรงจูงใจที่ส่งผลใหบ้ ุคคลพร้อมที่จะกระทา ซ่ึงเกิดข้ึนหลงัจากบุคคลมีความคิดความเชื่อแล้ว30
ประเมินวา่ สิ่งน้นัดีมีประโยชน์ความรู้สึกชอบ และต้องการกระท าพฤติกรรมที่ดีงาม และถูกต้อง
ใหส้อดคลอ้งกบัความเชื่อความรู้สึกของตนเกี่ยวกบั พฤติกรรมน้นั ซ่ึงเป็นสิ่งที่ทุกคนควรประพฤติ
ต่อผอู้ื่นเพื่อก่อให้เกิดความสุขความเจริญในสังคม และจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้งกบั
ทัศนคติเชิงจริยธรรม ในการศึกษาคร้ังน้ีจึงไดศ้ึกษาองคป์ ระกอบของทศันคติเชิงจริยธรรม
3 องค์ประกอบ ดงัน้ี1. ความคิดและความเชื่อของบุคคลต่อการกระทา พฤติกรรมจิตอาสาวา่ เป็นสิ่ง
ที่กระท าแล้วดีมีประโยชน์2. ความรู้สึก ชอบ หรือไม่ชอบพฤติกรรมจิตอาสาความรู้สึกสงสารหรือ
รู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 3. ความพร้อมที่จะแสดงพฤติกรรมเมื่อพบสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความคิด
ความรู้สึก หรือความต้องการในการแสดงพฤติกรรมจิตอาสา เนื่องจากพฤติกรรมจิตอาสา เป็ น
พฤติกรรมที่สังคมคาดหวังและเป็นพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบอยากใหเ้กิดข้ึนในสังคม ซึ่งเป็ น
คุณธรรมข้อหนึ่งที่เป็ นหลักในการปฏิบัติตนไปในทางที่ดีงาม ดงัน้นั ในการศึกษาทัศนคติเชิง
จริยธรรม จึงเป็ นการศึกษาถึง ทศันคติเชิงจริยธรรมต่อพฤติกรรมจิตอาสา
ปัจจัยภายนอก
ในการศึกษาปัจจยัภายนอกคร้ังน้ีผู้ศึกษาหมายถึงการสนับสนุนทางสังคม คือ
ครอบครัว สถานศึกษา สังคม/ ชุมชน และเพื่อน ซ่ึงมีรายละเอียดดงัน้ี
การสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดการสนบั สนุนทางสังคมเป็นเรื่องที่สนใจกนัอยา่ งกวา้งขวาง นบั ต้งัแต่ศตวรรษที่
1980 เป็ นต้นมา ในต่างประเทศมีการศึกษากนั มาก นักวิชาการหลาย ๆ สาขาไดใ้หค้วามสนใจท้งั
ทางด้านทฤษฎีและความเป็ นจริง ทา ใหเ้กิดรูปแบบต่าง ๆ กนั ไดม้ีนกัวชิาการหลายท่านกล่าววา่
การสนบั สนุนทางสังคมเป็นปัจจยัที่มีอิทธิพลต่อการเผชิญความเครียดเพราะการสนับสนุนทาง
สังคมที่ไดร้ับน้นัจะทา ใหบ้ ุคคลเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตวัเอง มีอารมณ์มนั่ คงเกิดความรู้สึกมนั่ ใจ
ในตนเองและแกป้ ัญหาไดต้รงจุด นอกจากน้ีสมาชิกในสังคมจะเสริมใหบ้ ุคคลมีความกลา้ที่จะ
เผชิญความเครียดโดยช่วยจดัหาขอ้มูลข่าวสารค าแนะน า ตลอดจนแนวทางเลือกที่เหมาะสม ซึ่งท า
ให้บุคคลรู้สึกปลอดภยัในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน
การสนบั สนุนทางสังคมเป็นวธิีการที่สา คญั ของการป้องกนัและควบคุมปัญหารวมถึง
เป็นการส่งเสริมการช่วยเหลือกนัระหวา่ งบุคคลและสมาชิกในครอบครัวกลุ่ม ชุมชน และองค์กร
ต่าง ๆ เช่น การให้ค าแนะน าการใหส้ิ่งของการประเมินเพื่อปรับปรุงใหด้ีข้ึน การใหค้วามช่วยเหลือ
เกี่ยวกบั อุปกรณ์เครื่องมือเวลาและความคิดการใหข้อ้มูลข่าวสาร ซ่ึงการใหส้ิ่งต่าง ๆ มีคุณค่า
และเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มสังคม ทา ใหส้ ามารถเผชิญกบั เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มาคุกคามต่อร่างกาย
หรือจิตใจไดอ้ยา่ งมีประสิทธิภาพ31
ความหมายของการสนับสนุนทางสังคม
Thoits (1982, p. 146) การสนับสนุนทางสังคม หมายถึงระดบัความตอ้งการพ้ืนฐานที่จะ
ได้รับการตอบสนอง โดยการติดต่อสัมพนัธ์กบั บุคคลอื่นในสังคม ความตอ้งการพ้ืนฐานทางสังคม
ไดแ้ก่ความต้องการความรักการยอมรับ ยกยอ่ งการเห็นคุณค่าการเป็ นเจ้าของความมีชื่อเสียง
และความปลอดภัย
วันทนีย์วาสิกะสิน (2541, หน้า 99) ไดส้รุปความหมายวา่ การสนับสนุนทางสังคม
หมายถึงการที่บุคคลในสังคมได้รับความรักความเอาใจใส่ เห็นคุณค่าไดร้ับการยกยอ่ งมีความ
ผกู พนั ซ่ึงกนัและกนั มีความรู้สึกเป็นส่วนร่วมในสังคมเดียวกนั มีการใหค้วามช่วยเหลือในดา้นต่าง
ๆ เช่น การให้ค าแนะน าการใหส้ิ่งของการประเมินเพื่อใหป้ รับปรุงใหด้ีข้ึน การใหค้วามช่วยเหลือ
โดยมาเป็ นแรงงาน ให้เวลา ให้ความคิดเห็น ใหข้อ้มูลข่าวสาร
สุจิตรา โอฬารกิจวานิช (2547, หน้า 7) ไดส้รุปความหมายวา่ การสนับสนุนทางสังคม
หมายถึงการที่บุคคลได้รับความรักความรู้สึกเห็นอกเห็นใจการดูแลเอาใจใส่ใหก้า ลงัใจการแสดง
ความรักความผกู พนั ต่อกนั การยอมรับนบัถือกนั และเห็นคุณค่า มีการช่วยเหลือในดา้นความรู้
ขอ้มูลข่าวสารคา แนะนา ที่สามารถนา ไปใชแ้กป้ ัญหาและไดร้ับในรูปวตัถุหรือสิ่งของเวลา เงิน
หรือการบริการ ซ่ึงตอบสนองต่อความตอ้งการของตนในสถานการณ์หน่ึง ๆ ไดอ้ยา่ งเหมาะสม
ศุภวิชญ์จันทิพย์วงษ์(2548, หน้า 62) ไดส้รุปความหมายวา่ การสนับสนุนทางสังคม
หมายถึงการที่บุคคลไดร้ับการส่งเสริม ช่วยเหลือ สร้างเสริมและพัฒนาจากบุคคล หรือเครือข่าย
ทางสังคม โดยการให้ค าแนะน าการเอาใจใส่ เป็นตวัอยา่ งที่ดียกยอ่ ง ใหก้า ลงัใจเพื่อใหเ้กิด
พฤติกรรมอันเป็ นเป้ าหมายเฉพาะ
โดยสรุป การสนับสนุนทางสังคม หมายถึงความตอ้งการพ้ืนฐานที่จะไดร้ับ
การตอบสนอง โดยการติดต่อสัมพนัธ์กบั บุคคลอื่นในสังคม โดยการที่บุคคลได้รับความรัก
ความเอาใจใส่กา ลงัใจยกยอ่ งนบัถือและเห็นคุณค่า มีความรู้สึกวา่ ตนเป็นส่วนหน่ึงของสังคม
มีความผกู พนั ซ่ึงกนัและกนั ไดร้ับการส่งเสริม การช่วยเหลือในดา้นความรู้ขอ้มูลข่าวสาร
ใหค้า แนะนา ที่สามารถนา ไปใชแ้กป้ ัญหาและใหว้ตัถุหรือสิ่งของ เงิน และเวลา ซึ่งตอบสนอง
ความต้องการในสถานการณ์หนึ่ง ๆ ไดอ้ยา่ งเหมาะสม เพื่อใหเ้กิดพฤติกรรมอนั เป็นเป้าหมายเฉพาะ
หลักการส าคัญของการสนับสนุนทางสังคม
ขวัญใจ พิมพิมล(2543, หน้า 66-67) ไดก้ล่าวถึงหลกัการสา คญั ของการสนบั สนุนทาง
สังคม ประกอบด้วย
1. กระบวนการติดต่อสื่อสารระหวา่ งผทู้ี่ทา หนาที่หลักเป็ น ้ “ผู้ให้” และผู้ที่ท าหน้าที่หลัก
เป็ น “ผู้รับ” การสนับสนุน32
2. กระบวนการติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วย
 2.1 ขอ้มูลข่าวสารที่ทา ให้“ผู้รับ” เชื่อวา่ มีคนเอาใจใส่ มีความรักและมีความหวังดีต่อ
ตนอยา่ งจริงจงั
 2.2 ขอ้มูลข่าวสารที่ทา ให้“ผู้รับ” รู้สึกวา่ ตนเองมีคุณค่าและเป็ นที่ยอมรับในสังคม
2.3 ขอ้มูลข่าวสารที่ทา ให้“ผู้รับ” เชื่อวา่ เขาเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและสามารถทา
ประโยชน์แก่สังคมได้
3. ปัจจัยน าเข้าในกระบวนการสนับสนุน ซ่ึงอาจอยใู่ นรูปของขอ้มูลข่าวสารวสัดุสิ่งของ
หรือแรงสนับสนุนทางด้านจิตใจ
4. การช่วยให้“ผู้รับ” ไดบ้ รรลุถึงจุดมุ่งหมายที่เขาตอ้งการคือ มีสุขภาพอนามัยที่ดีเป็ น
ภาวะแห่งความสุขท้งัร่างกาย จิตใจ สังคม มีสภาพความเป็นอยทู่ ี่ดีสามารถแกป้ ัญหาหรือเผชิญ
ปัญหาความเดือดร้อนไดอ้ยา่ งเหมาะสม
แหล่งของการสนับสนุนทางสังคม
จริยาวัตร คมพยัคฆ์(2531, หน้า 100-105) ไดก้ล่าววา่ โดยปกติกลุ่มสังคมจะจดัแบ่ง
ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือกลุ่มปฐมภูมิ(Primary Group) เป็นกลุ่มสังคมที่มีความสนิทสนม
และมีสัมพนัธภาพระหวา่ งสมาชิกเป็นการส่วนตวัสูงไดแ้ก่ครอบครัว ญาติพี่น้องและเพื่อนบ้าน
กลุ่มที่2 คือกลุ่มทุติยภูมิ(Secondary Group) เป็นกลุ่มสังคมที่มีความสัมพนัธ์กนั ตามแบบแผน
และกฎเกณฑ์ที่วางไว้ซ่ึงมีอิทธิพลเป็นตวักา หนดบรรทดัฐานของบุคคลในสังคมไดแ้ก่ เพื่อน
ร่วมงาน กลุ่มวชิาชีพ และกลุ่มสังคมอื่น ๆ คลา้ยคลึงกบั Stewart (1989, pp. 268-275) แบ่งเครือข่าย
ทางสังคมเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่มีความผกู พนักนั มากไดแ้ก่ครอบครัวเครือญาติคู่สมรส มี
ปฏิสัมพนัธ์กนั บ่อยคร้ังและกลุ่มที่ไม่ใช่เครือญาติเป็นกลุ่มที่บุคคลเลือกที่จะติดต่อดว้ยเหตุผล
ส่วนตวั โดยที่มีความสนใจและค่านิยมสอดคลอ้งกนั มกัเป็นกลุ่มเพื่อนที่อายใุกลเ้คียงกนั รวมท้งัมี
รูปแบบการดา เนินชีวติใกลเ้คียงกนั กลุ่มสังคมท้งัสองกลุ่มน้ีเป็นแหล่งที่ใหก้ารสนบั สนุนทางสังคม
แก่บุคคลไดท้ ุกระดบั ตามลกัษณะของการตอบสนองของแต่ละบุคคล
โดยสรุป แหล่งที่มาของการสนบั สนุนทางสังคม มกัจะไดม้าจากกลุ่มสังคมที่มีความ
สนิทสนมและผกู พนั ต่อกนั มาก มีการปฏิสัมพนัธ์กนั บ่อยคร้ัง เช่น บิดา มารดา ญาติพี่นอ้งและกลุ่ม
ที่มีความสัมพนัธ์ที่เกี่ยวขอ้งกนั ทางสังคม มีความสนใจและค่านิยมที่สอดคลอ้งกนั ซ่ึงมีอิทธิพลเป็น
ตวักา หนดบรรทดัฐานของบุคคลในสังคม ไดแ้ก่ครูเพื่อนสนิท กลุ่มทางสังคมอื่น ๆ เช่น ชุมชน
หรือหน่วยงานต่าง ๆ33
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
Cobb (1979, p. 93, อ้างถึงใน อภิรัชศกัด์ิรัชนีวงศ์, 2539, หน้า 25) ไดแ้บ่งการสนบั สนุน
ทางสังคมออกเป็ น 3 ชนิดคือ
1. การสนับสนุนด้านอารมณ์(Emotional Support) เป็นขอ้มูลที่ทา ใหบ้ ุคคลเชื่อวา่
เขาได้รับความรักและการดูแลเอาใจใส่ ซึ่งมักจะได้จากความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดและมีความผูกพัน
ลึกซ้ึงต่อกนั
2. การสนบั สนุนดา้นการยอมรับและเห็นคุณค่า (Esteem Support) เป็ นข้อมูลที่บอกให้
ทราบวา่ บุคคลน้นั มีคุณค่า บุคคลอื่นยอมรับและเห็นคุณค่าดว้ย
3. การสนบั สนุนดา้นการเป็นส่วนหน่ึงของสังคม (Socially Support orNetwork
Support) เป็นการบอกใหท้ ราบวา่ บุคคลน้นั เป็นสมาชิกหรือส่วนหน่ึงของเครือข่ายทางสังคมและ
มีความผกู พนั ซ่ึงกนัและกนั
Schaefer; Coyne; and Lazarus (1981, pp. 381-406) แบ่งการสนบั สนุนทางสังคม
ออกเป็ น 3 ชนิดคือ
1. การสนับสนุนด้านอารมณ์(Emotional Support) หมายถึงความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ
การดูแลเอาใจใส่ใหก้า ลงัใจการแสดงความรักความผกู พนั ต่อกนั การยอมรับนบัถือกนั และเห็น
คุณค่า
2. การสนับสนุนด้านความรู้ขอ้มูลข่าวสาร(Cognitive Support or Information
Support) หมายถึงการให้ความรู้ขอ้มูลข่าวสารค าแนะน า ที่สามารถนา ไปใชแ้กป้ ัญหา รวมท้งัการ
ใหข้อ้มูลป้อนกลบั เกี่ยวกบั พฤติกรรมของบุคคล
3. การสนบั สนุนดา้นสิ่งของหรือบริการ (Materials Support or Tangible Support)
หมายถึง พฤติกรรมการช่วยเหลือโดยตรง ในรูปวตัถุหรือสิ่งของ เวลา เงินหรือการบริการ
Jacobson (1986, p. 252, อ้างถึงใน ศุภวิชญ์จันทิพย์วงษ์, 2548, หน้า 63) ไดแ้บ่ง
การสนับสนุนทางสังคมเป็ น 3 ชนิดคือ
1. การสนับสนุนทางด้านอารมณ์(Emotional Support) เป็ นพฤติกรรมที่ท าให้บุคคล
เกิดความสบายใจเชื่อวา่ ไดร้ับการยกยอ่ งเคารพนบัถือและความรักรวมท้งัอาจไดร้ับการเอาใจใส่
และใหค้วามมนั่ ใจ
2. การสนับสนุนทางด้านปัญญา (Cognitive Support) หมายถึงการใหข้อ้มูลข่าวสาร
คา แนะนา ที่จะช่วยบุคคลไดเ้ขา้ใจสิ่งต่าง ๆ จนสามารถนา ไปปรับตวัต่อการเปลี่ยนแปลงในชีวติได้
3. การสนบั สนุนทางดา้นสิ่งของ (Material Support) หมายถึงการช่วยเหลือดว้ยสิ่งของ
และบริการที่จะช่วยแกป้ ัญหาได้34
Thoits (1982, pp. 147-148) ไดแ้บ่งการสนบั สนุนทางสังคมเป็น 3 ด้าน คือ
1. ความช่วยเหลือดา้นอารมณ์และสังคม (Socio-emotional Aid) เช่น การได้รับความรัก
ความเห็นอกเห็นใจการดูแลเอาใจใส่ความเข้าใจการได้รับการยอมรับ การเห็นคุณค่าจากบุคคล
อนั เป็นที่รักและรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของสังคม
2. ความช่วยเหลือดา้นเครื่องมือ(Instrumental Aid) ไดแ้ก่การไดร้ับการช่วยเหลือดา้น
วัสดุอุปกรณ์สิ่งของ เงินทอง หรือบริการ ที่จะทา ใหบ้ ุคคลที่ไดร้ับการสนบั สนุนน้นั สามารถด ารง
บทบาทหรือหน้าที่รับผิดชอบได้ปกติ
3. ความช่วยเหลือดา้นขอ้มูลข่าวสาร (Information Aid) หมายถึงการใหข้อ้มูลข่าวสาร
ขอ้มูลป้อนกลบั เกี่ยวกบั พฤติกรรมหรือการกระทา ของบุคคลรวมท้งัคา แนะนา และแนวทาง
การแกป้ ัญหาต่าง ๆ
จากการศึกษาประเภทของการสนับสนุนทางสังคม ผศู้ึกษาสรุปไดว้า่ การสนับสนุน
ทางสังคมแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
1. การสนับสนุนด้านอารมณ์(Emotional Support) หมายถึงการได้รับความรัก
ความเห็นอกเห็นใจการดูแลเอาใจใส่ใหก้า ลงัใจการแสดงความรักการยอมรับนบัถือกนั และ
เห็นคุณค่าซ่ึงมกัจะไดจ้ากความสัมพนัธ์ที่ใกลช้ิดและมีความผกู พนัลึกซ้ึงต่อกนั
2. การสนับสนุนด้านความรู้ขอ้มูลข่าวสาร(Cognitive Support or Information
Support) หมายถึงการใหค้วามรู้ขอ้มูลข่าวสารขอ้มูลป้อนกลบั เกี่ยวกบั พฤติกรรมหรือการกระทา
ของบุคคลรวมท้งัคา แนะนา ที่จะช่วยบุคคลไดเ้ขา้ใจสิ่งต่าง ๆ จนสามารถนา ไปปรับตวัต่อการ
เปลี่ยนแปลง ในชีวิตได้และสามารถนา ไปใชแ้กป้ ัญหา
3. การสนบั สนุนดา้นสิ่งของหรือบริการ (Materials Support or Tangible Support)
หมายถึงการไดร้ับการช่วยเหลือโดยตรงด้านวัสดุอุปกรณ์หรือสิ่งของ เวลา เงินหรือบริการ ที่จะ
ท าให้บุคคลที่ไดร้ับการสนบั สนุนน้นั สามารถดา รงบทบาทหรือหนา้ที่รับผดิชอบไดป้กติ
ลกัษณะการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนแนวคิดทางสังคมโดยยึดตามแนวคิดของ Weiss แบ่งออกเป็น 5 ลักษณะ
คือ(ช่อทิพย์บรมธนรัตน์, 2539, หน้า 28)
1. ความใกล้ชิด ช่วยใหบ้ ุคคลรู้สึกปลอดภยั อบอุ่น และไม่รู้สึกโดดเดี่ยว
2. การมีส่วนร่วมในสังคม ท าให้บุคคลรู้สึกมีเป้ าหมาย มีความเป็ นเจ้าของและได้รับการ
ยอมรับวา่ ตนมีคุณค่าต่อกลุ่ม35
3. พฤติกรรมการดูแลรับผิดชอบ เป็นการสนบั สนุนที่ผใู้หญ่มีความรับผดิชอบต่อความ
เจริญเติบโตและสุขภาพของผู้น้อย แลว้ทา ใหต้ นเองเกิดความรู้สึกวา่ เป็นที่ตอ้งการของบุคคลอื่น
และผู้อื่นพึ่งพาได้
4. การได้รับการยอมรับจากครอบครัวและเพื่อน เมื่อบุคคลมีความสามารถแสดง
บทบาท อาจจะเป็ นบทบาทในครอบครัวหรือในอาชีพ ถา้คนเราไม่ไดร้ับการยอมรับจะทา ใหค้วาม
เชื่อมนั่ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง
5. การไดร้ับความช่วยเหลือเป็นการไดร้ับความช่วยเหลือคา แนะนา การช้ีแนะ หรือ
ไดร้ับกา ลงัใจเพื่อนา ไปใชใ้นการแกป้ ัญหา
ระดับของการสนับสนุนทางสังคม
Gottlieb (1985, pp. 11-12) ไดแ้บ่งระดบัของการสนบั สนุนทางสังคมออกเป็น 3 ระดับ
คือ
1. ระดับมหภาคหรือระดับกว้าง (Macro Level) เป็นการพิจารณาถึงการเขา้ร่วมหรือการ
มีส่วนร่วมในสังคม โดยดูจากลกัษณะต่าง ๆ ไดแ้ก่ความสัมพนัธ์กบั สถาบนั ในสังคม การเข้า
ร่วมกบักลุ่มต่าง ๆ ด้วยความสมัครใจและการดา เนินชีวิตอยา่ งไม่เป็นทางการในสังคม
2. ระดบักลางหรือระดบักลุ่ม (Mezzo Level) เป็ นความสัมพันธ์ในระดับที่เฉพาะเจาะจง
ถึงกลุ่มบุคคลที่มีการติดต่อกนัอยา่ งสม่า เสมอเช่น กลุ่มเพอื่ นที่ใกลช้ิด ชนิดของการสนับสนุนทาง
สังคมในระดบั น้ีคือการให้ค าแนะน าการช่วยเหลือด้านวัตถุความเป็ นมิตรและการสนับสนุน
ทางด้านอารมณ์และการยกยอ่ ง
3. ระดับจุลภาคหรือระดับลึก(Micro Level) เป็ นการพิจารณาความสัมพันธ์ของบุคคลที่
มีความใกล้ชิดสนิทสนมมากที่สุดเพราะเชื่อวา่ สิ่งสา คญั ของการสนบั สนุนทางสังคมมาจากการให้
การสนับสนุนทางอารมณ์ทางจิตใจแสดงความรักและห่วงใยผทู้ี่ใหก้ารสนบั สนุนในระดบั น้ี
ไดแ้ก่บิดา มารดาและสมาชิกในครอบครัว
ในการศึกษาทบทวนแนวคิดเกี่ยวกบัการสนบั สนุนทางสังคมดงักล่าว สามารถสรุปไดว้า่
การสนับสนุนทางสังคม หมายถึงการที่บุคคลมีการติดต่อสัมพนัธ์กบั บุคคลอื่นๆ ในสังคม โดยเชื่อ
หรือรับรู้วา่ มีแหล่งหรือบุคคลที่จะใหค้วามช่วยเหลือในดา้นต่าง ๆ เมื่อตนเองต้องการหรือเมื่อพบ
ปัญหา รวมไปถึงความพอใจหรือไม่พอใจที่ไดร้ับจากการสนบั สนุนน้นั โดยในการศึกษาคร้ังน้ี
กา หนดให้การสนับสนุนทางสังคมเป็ นปัจจัยภายนอกในการศึกษาพฤติกรรมจิตอาสาในคร้ังน้ี
ซ่ึงผศู้ึกษาไดแ้บ่งการสนบั สนุนทางสังคมออกเป็น 4 ด้าน คือการสนับสนุนจากครอบครัว
การสนับสนุนจากสังคม/ ชุมชน และการสนับสนุนจากเพื่อน ซ่ึงแบ่งการส่งเสริม และสนับสนุน
ตามระดับ และประเภทของการสนับสนุนทางสังคม โดยสื่อสารใหผ้รู้ับเชื่อวา่ มีคนเอาใจใส่ได้รับ36
ความรักรู้สึกวา่ ตนเองมีคุณค่าและเป็ นที่ยอมรับในสังคม และมีความรู้สึกวา่ ตนเป็นส่วนหน่ึงของ
สังคม ไดร้ับการส่งเสริม การช่วยเหลือใหค้า แนะนา ที่สามารถนา ไปใชแ้กไ้ขปัญหาและให้วัตถุ
หรือสิ่งของ เงินและเวลา เพื่อตอบสนองความตอ้งการในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ยา่ งเหมาะสม
ปัจจัยพื้นฐานในการด ารงชีวิต (ปัจจัย4)
ปัจจัยสี่ เป็นสิ่งที่มนุษย์จา เป็นต่อการดา รงชีวิต โดยไม่ตอ้งพ่ึงสิ่งอา นวยความสะดวกอื่น ๆ
เช่น คอมพิวเตอร์รถยนต์ไฟฟ้ าโทรศัพท์เป็นตน้ โดยปัจจยัท้งัสี่อยา่ งน้ีมนุษยไ์ม่สามารถขาดได้
เพราะเมื่อขาดแลว้อาจส่งผลต่อการดา เนินชีวติ ปัจจัยสี่ประกอบไปด้วย 4 ปัจจยั ดงัต่อไปน้ี(ปัจจัยสี่
, 2553)
อาหาร
อาหารเป็นสิ่งที่จา เป็นอยา่ งยิ่งต่อการดา เนินไปของร่างกายมนุษย์หากขาดอาหารมนุษย์
จะขาดพลงังานในการเล้ียงดูร่างกายและเสียชีวิตในที่สุดดงัน้นัอาหารจึงจา เป็นมากใน
ชีวิตประจ าวัน
อาหารสามารถแบ่งออกเป็นประเภทได้6 ชนิด โดยจ าแนกจากสารอาหารที่ไดร้ับ ดงัน้ี
1. โปรตีน เป็นสารอาหารที่ประกอบตวักนัจากกรดอะมิโน (Amino Acid) ซึ่งเป็ น
พ้ืนฐานของร่างกายมนุษย์โปรตีนจะช่วยซ่อมแซมร่างกายที่เสียหาย สึกหรอ หรือเสื่อมไปให้
กลับมาใช้งานได้ดังเดิม และเขา้ไปเสริมร่างกายส่วนอื่น ๆ ให้แข็งแรง โปรตีนพบมากในเน้ือสัตว์
นมและผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ถวั่ เป็ นต้น
2. คาร์โบไฮเดรต เป็ นสารอาหารประเภทใหพ้ ลงังาน ประกอบตวักนัจากน้า ตาล
(Sugar) คาร์โบไฮเดรตจะช่วยสะสมพลงังานใหก้ บัร่างกายเพื่อใชย้ามขาดหรือตอ้งการในปริมาณ
มากคาร์โบไฮเดรตพบมากในอาหารประเภทแป้งและน้า ตาลเช่น ข้าวแป้ งขนมปัง น้า ตาล พืชกิน
หัวและผลไมบ้ างประเภทที่มีน้า ตาลสูง เช่น กล้วย ทุเรียน มะม่วงสุก เป็นต้น
3. ไขมัน เป็ นสารอาหารที่ให้พลังงาน ประกอบตัวจากกรดไขมัน (Fat Acid) ไขมันเป็ น
สารอาหารที่ใหพ้ ลงังานสูงที่สุดในสารอาหารท้งัหมด(9 กิโลแคลอรีต่อกรัม) ไขมนั ช่วยเป็น
พลงังานสะสมเช่นเดียวกบัคาร์โบไฮเดรต แต่ใหม้ ากกวา่ และแบ่งเป็นไขมนัอิ่มตวัและไขมนัไม่
อิ่มตวั ไขมันพบมากในอาหารประเภทไขมันสัตว์และพืช เนย น้า มนั ถวั่ และเมล็ดพืชบางชนิดเป็น
ต้น
4. เกลือแร่ เป็นสารอาหารที่ไม่ใหพ้ ลงังาน แต่ใชใ้นการทา งาของระบบในร่างกายไม่ให้
ผิดปรกติหรือชา รุดเกลือแร่พบมากในผกัทุกชนิดผลไม้เกลือและแร่ธาตุบางชนิดเช่น เหล็ก
สังกะสีแมกนีเซียม แคลเซียม ฟอสฟอรัส กา มะถนั เป็ นต้น37
5. วิตามิน เป็นสารอาหารที่ไม่ใหพ้ ลงังาน แต่ใชใ้นการสร้างเสริมความแขง็แรงและ
คล่องแคล่วของระบบต่าง ๆ ในร่างกายโดยแบ่งออกเป็นหลายประเภท เช่น วิตามินเอ บี1 บี6 บี12
ซีเคดีอีเป็นตน้ โดยวิตามินแต่ละประเภทจะช่วยเหลืออวยัวะหรือระบบต่าง ๆ ในร่างกายแตกต่าง
กนัไป วติามินพบมากในผลไม้ทุกชนิด ผักใบเขียว ตับ ไข่และนม เป็นตน้
6. น้า เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลงังาน น้า ช่วยใหร้่างกายชุ่มช้ืน และหล่อเล้ียงระบบต่าง
ๆของร่างกายได้น้า เป็นสิ่งที่มีประโยชน์มากเพราะหากร่างกายขาดน้า เกิน 20% ข้ึนไป เซลล์ใน
ร่างกายจะค่อย ๆ ตายลงทีละเซลล์จนในที่สุดก็จะเสียชีวติ
ที่อยอู่ าศยั
มนุษยจ์า เป็นอยา่ งยงิ่ ที่จะตอ้งมีที่อยอู่ าศยั เพื่อปกป้องร่างกายจากฝน ลม หรือสัตว์ร้าย
ต่าง ๆ ที่จะมาทา อนั ตรายต่อมนุษยเ์องดงัน้นั มนุษยจ์ึงตอ้งอาศยัในพ้ืนที่ที่เหมาะสมต่อการ
ด ารงชีวิตมนุษย์ในยุคแรก ๆ นิยมอาศยัอยใู่ นถ้า หรือตามโตรกผาต่าง ๆ เพื่อกนัลมและฝน รวมไป
ถึงสายฟ้าผา่ ฟ้ าแลบ ฟ้ าร้องอีกด้วยเนื่องจากมนุษยใ์นอดีตยงัไม่เขา้ใจหลกัเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
หรือเกษตรกรรม จึงไม่รู้จกัการสร้างบ้าน (มนุษย์ยุคหลังจากน้นั นิยมสร้างบา้นเพื่อใชเ้ป็นที่อยอู่ าศยั
ที่สะอาดและสะดวกสบายกวา่ถ้า และมกัสร้างริมแม่น้า เพื่อสะดวกในการเพาะปลูก) หรือการปลูก
พืช เพียงแค่ล่าสัตวแ์ละเก็บพืชผกัสะสมอาหารเพื่อเอาชีวิตรอดเท่าน้นั แต่ในช่วงยคุ หลงั ๆ มนุษย์
เริ่มเข้าใจในหลักวิทยาศาสตร์ เลิกกลัวลมฟ้าอากาศและเริ่มเขา้ใจเรื่องระบบนิเวศการเกษตรและ
การปศุสัตว์จึงเริ่มหนั มาปลูกบา้นเป็นที่อยถู่ าวรเลิกเร่ร่อนล่าสัตวห์ รือเก็บของป่าแลว้มาเพาะปลูก
พืชต่าง ๆ แทน รวมไปถึงเริ่มรู้จกัประโยชน์ของแม่น้า และสร้างบา้นใกลแ้หล่งน้า เพื่อเพาปลูกและ
ใชอ้าบกิน
มนุษยย์คุ ปัจจุบนัไม่ไดส้ร้างบา้นติดแม่น้า เพื่อการเกษตรอีกต่อไป แต่ใชเ้พื่อเป็นที่อยู่
อาศัยในครอบครัวเป็นแหล่งที่ประกอบอาชีพหรือพกัผอ่ นหยอ่ นใจและในปัจจุบนัการสร้างบา้น
หรือที่อยอู่ าศยัต่าง ๆ เพื่อจุดประสงค์เดียวกบั ในอดีตน้นั หายากข้ึน และแทบไม่ปรากฏในบริเวณตวั
เมืองหรือเขตประชากรหนาแน่นเลย
เครื่องนุ่งห่ม
มนุษยม์ีเครื่องนุ่งห่มไวเ้พื่อป้องกนัอากาศหนาวเยน็ หรือแสงแดด ป้องกนัการกระแทก
กระทบวตัถุอื่น และเพราะเหตุต่าง ๆ น้นั มนุษยจ์ึงเริ่มสวมใส่เส้ือผา้
ในอดีต มนุษยย์คุ โบราณไม่รู้จกัใส่เส้ือผา้ปิดกายเพราะมีขนและผิวหนังที่หนาแต่เมื่อ
อากาศโลกอุ่นข้ึน มนุษยก์ ็เริ่มปรับตวัโดยการลดความยาวขนและความหนาของผวิหนงั ทา ให้
มนุษยต์อ้งเริ่มรู้จกัปกปิดร่างกายในช่วงแรก ๆ มนุษย์ใช้ใบไม้เปลือกไมม้าร้อยเป็นเครื่องนุ่งห่ม
แลว้เริ่มรู้จกัการใชหนังสัตว์ ้ และเริ่มทอผ้าด้วยใยพืช 38
ใยพืชที่นิยมน้นัแบ่งตามยคึสมยัและพ้ืนที่โดยในอดีตมีใยผา้ลินิน (ทอจากต้นแฟลกซ์)
ผ้าไหม (ได้จากใยของตัวหนอนไหม) เป็นตน้ จนกระทงั่ เมื่อชาวยุโรปน าต้นฝ้ ายมาจากอเมริกาใต้
แลว้เพาะพนัธ์ไปทวั่ โลกใยฝ้ายจึงถูกใชท้ า เส้ือผา้ที่เป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบนั เรียกวา่ ผ้าฝ้ าย
ในปัจจุบนั เส้ือผา้ไม่ไดใ้ชเ้พื่อป้องกนั สภาพอากาศและอนั ตรายอยา่ งอื่นเท่าน้นั แต่ยงั
ใส่เพื่อบ่งบอกวัฒนธรรมประเพณีความเจริญกา้วหนา้ของผผู้ลิตและสวมใส่ไวบ้ ่งบอกชื่อสถานที่
ท างาน โรงเรียนหรือสถานศึกษาต่าง ๆ ไวใ้ส่เพื่อใหเ้ขา้กบังาน กิจกรรมและสภาพแวดลอ้ ม เช่น
ใส่ชุดกนัผ้งึเพราะทา อาชีพเล้ียงผ้งึใส่ชุดวา่ ยน้า เพื่อวา่ ยน้า หรือสอนวา่ ยน้า รวมไปถึงการใส่เพื่อ
ความสวยงาม เพื่อโออ้วดฐานะกนั ในปัจจุบนั เส้ือผา้ที่ถูกออกแบบเพื่อการณ์น้นั เรียกวา่ เส้ือผา้แบบ
สมัยนิยม
ยารักษาโรค
มนุษยเ์ป็นสิ่งมีชีวติที่มีโรคภยัไขเ้จบ็ เช่น สัตว์หรือสิ่งมีชีวติอื่น ๆ ดงัน้นั มนุษยจ์ึง
จ าเป็ นต้องใช้ยา เพื่อบรรเทาอาการเมื่อเจ็บป่ วยหรือเพื่อให้หายขาดจากโรคที่ตนเจบ็ ป่วยอยู่หรือ
เพื่อเสริมสร้างและซ่อมแซมสิ่งที่เสียหายผพุ งัไป และนา กลบั มาใชไ้ดเ้หมือนปรกติ
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ
การจัดการ (Management) เป็ นกระบวนการของการวางแผน การอ านวยการและ
การควบคุม เพื่อใหง้านน้ีบรรลุตามเป้าหมายที่วางไวซ้่ึง ชูชาติ ประชากล (2513, หน้า 4-6)
ไดอ้ธิบายวา่
ประการแรกคือการวางแผน การต้งันโยบายของกลุ่ม วางวัตลุประสงค์และ โครงการ
ส าหรับอนาคต
ประการที่สองคือการจดัมอบหมายความรับผดิชอบเฉพาะอยา่ งใหก้ บัแผนกต่าง ๆ และ
ระดบั ต่าง ๆ ท้งัทีมผทู้ า งาน การใชท้ รัพยากรที่มีอยอ่ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
ประการที่สาม ไดแ้ก่การควบคุมงานน้นั คือการนา ทางและเป็นผชู้้ีแนะทางให้
เกิดความสะดวกในการตรวจสอบการปฏิบตัิงาน และโดยการควบคุมน้ีผจู้ดัการสามารถ พบวา ่
ไดม้ีการทา อะไรบาังเพื่อตอบสนองต่อวตัถุประสงค์และการมอบหมายงาน การบริหาร หมายถึง
ใช้ศาสตร์และศิลป์ ในการน าเอาทรัพยากรการบริหาร (Administrative Resource) มาประกอบกนั
ข้ึนใหเ้ป็นไปตามกระบวนการทางการบริหาร (Process of Administration) เพื่อให้บรรลุวัตลุ
ประสงคท์ ี่กา หนดไวอ้ยา่ งมีประสิทธิภาพ (สมพงษ์ เกษมสิน, 2514, หน้า 13-14)39
ความหมายของการบริหาร
การบริหาร หมายถึง การท างานของคณะบุคคล (Group) ต้งัแต่สองคนข้ึนไปที่ร่วมกนั
ปฏิบตัิงานใหบ้ รรลุเป้าหมายร่วมกนั ฉะน้นัคา วา่ การบริหารน้ีจึงใชส้ า หรับแสดง ใหเ้ห็นลกัษณะ
การบริหารงานแต่ละประเภทไดเ้สมอแลว้แต่กรณีไป แต่ถา้เป็นการทา งาน โดยบุคคลคนเดียว
เรียกวา่ เป็นการทา งานตามธรรมดาเท่าน้นั (ชุบ กาญจนประกร, 2496, อ้างถึงใน สมพงษ์ เกษมสิน
, 2514, หน้า 13)
จากความหมายของการบริหารดงักล่าวมาแลว้ จะเห็นวา่ การบริหารมีลกัษณะเด่น เป็น
สากลอยหู่ ลายประการคือ(สมพงษ์ เกษมสิน, 2514, หน้า 14)
1. การบริหารยอมมีวัตถุประสงค์ ่
2. การบริหารอาศัยปัจจัยบุคคลเป็ นองค์ประกอบส าคัญที่สุด
3. การบริหารต้องใชท้ รัพยากรทางการบริหารเป็นองคป์ ระกอบพ้ืนฐาน
4. การบริหารมีลักษณะการด าเนินงานเป็ นกระบวนการ
5. การบริหารเป็นการดา เนินงานร่วมกนัของกลุ่มบุคคล
6. การบริหารมีลกัษณะเป็นการร่วมมือกนัดา เนินงานอยา่ งมีเหตุผล
ในสังคมหน่ึง ๆ มนุษยย์อ่ มมีพฤติกรรมร่วมกนั ในอนั ที่จะกระทา การต่าง ๆ เพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ของสมาชิกในสังคมมากที่สุด มีการแบ่งงานกนั ทา ช่วยเหลือเก้ือกลู
การปรับปรุงการบริหารของกลุ่มใหเ้กิดประสิทธิภาพและมีความเป็นระเบียบมากข้ึน ท้งัน้ี
เพื่อตอบสนองความตอ้งการและขอ้เรียกร้องต่าง ๆ ของประชาชน พยายามหามรรควธิี(Means) ที่
จะเป็นเครื่องมือในการบริหารใหเ้กิดประสิทธิภาพมากที่สุด ฉะน้นัการบริหารจึงมีความสา คญั ดงัน้ี
(สมพงษ์ เกษมสิน, 2514, หน้า 4-5)
1. การบริหารน้นั ไดเ้จริญเติบโตควบคู่มากบัการด ารงชีพของมนุษย์และเป็นสิ่งช่วยให้
มนุษยด์า รงชีพอยรู่ ่วมกนัไดอัยา่ งผาสุก
2. จา นวนประชากรที่เพิ่มข้ึนอยา่ งรวดเร็วเป็นผลทา ใหอ้งคก์ ารต่าง ๆ ตอ้งขยายงานด้าน
การบริหารงานใหก้วา้งขวางยงิ่ ข้ึน
3. การบริหารเป็นเครื่องมือบ่งช้ีใหท้ ราบถึงความเจริญกา้วหนา้ของสังคม ความกา้วหนา้
ทางวิชาการ (Technology) ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านอุตสาหกรรม ทา ใหก้ารบริหารเกิดการ
เปลี่ยนแปลงและกา้วหนา้อยา่ งรวดเร็วยงิ่ ข้ึน
4. การบริหารเป็นมรรควธิีที่สา คญั ในอนั ที่จะนา สังคมและโลกไปสู่ความเจริญกา้วหนา้
5. การบริหารจะช่วยใหท้ ราบถึงแนวโนม้ ท้งในด้านความเจริญและความเสื่อมของ ั
สังคมในอนาคต40
6. การบริหารมีลกัษณะเป็นการทา งานร่วมกนัของกลุ่มบุคคลในสังคม ฉะน้นั
ความสา เร็จของการบริหารจึงข้ึนอยกู่ บั ปัจจยัสภาพแวดลอ้ มทางสังคมและวฒั นธรรมทางการเมือง
(Political Socio-cultural Factors Environment) อยเู่ป็นอนมาก ั
7. การบริหารมีลักษณะต้องใช้วนิิจฉยัสั่งการเป็นเครื่องมือ ซึ่งนักบริหาร จะต้อง
คา นึงถึงปัจจยัแวดลอ้ มต่าง ๆ และการวนิิจฉยัสั่งการน้ีเองทิ่เป็นเครื่องมือแสดงให้ทราบถึง
ความสามารถของนักบริหารและความเจริญเติบโตการบริหาร
8. ชีวติประจา วนัของมนุษยไ์ม่วาใน ่ ครอบครัวหรือสา นกังานยอมมีส่วนเกี่ยวพนักบั
การบริหารเสมอดงัน้นั การบริหารจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจและจา เป็นต่อการที่จะด ารงชีพอยา่ งฉลาด
9. การบริหารกบัการเมืองเป็นสิ่งควบคู่ที่แยกกนัไม่ออก ฉะน้นัการศึกษาจึงตอ้ง
ค านึงถึงสภาพทางการเมืองด้วย
จึงกล่าวไดว้า่ การบริหารคือการใชท้ ้งัศาสตร์และศิลป์ในการนา เอาทรัพยากร
การบริหารมาประกอบการตามกระบวนการบริหารใหบ้ รรลุวตัถุประสงคท์ ี่กา หนดไว้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลปัจจัยในการบริหาร
ทรัพยากรการบริหาร
โดยทวั่ ไปการบริหารงานจะตอ้งมีปัจจยัพ้ืนฐาน 4 ประการ หรือเรียกวา ทรัพยากร ่
การบริหาร (Administration Resources) คือ 1. คน (Man) 2. เงิน (Money) 3. วัสดุอุปกรณ์/ เครื่องมือ
(Material/ Machine) และการจัดการ/วิธีการ(Management/ Method) หรือเรียกส้ันวา่ 4 M
ปัจจยัท้งั 4 ประการ นบัวา่ เป็นปัจจยัพ้ืนฐาน ท้งัน้ีเพราะวา่ การบริหารทุกประเภทไม่วา่
จะเป็นของรัฐหรือเอกชนก็ตามจา เป็น ตอ้งอาศยั เงิน วสัดุและการจดัการองคก์ ารเป็นองคป์ ระกอบ
ที่ขาดเสียมิได้
แต่ปัจจุบนัไดม้ีพิจารณาขยายขอบเขตของปัจจยัการบริการกวา้งขวางออกไปอีกเช่น
Greenwood (1980, อ้างถึงใน มัฆวาฬ สุวรรณเรือง, 2536, หน้า 52) ไดเ้สนอความเห็นวา่ ปัจจยัใน
การบริหารไม่ไดม้ีเพียง 4 อยา่ งเท่าน้นั แต่อยา่ งนอ้ยควรมี7 อยาง คือ คน เงิน พัสดุ อุปกรณ์ อ า ่ นาจ
หนา้ที่ เวลากา ลงัใจในการทา งานและความสะดวกต่าง ๆ
เป็นการแน่นอนวา่ การบริหารงานจะตอ้งมีปัจจยัท้งั 4 M เป็นส่วนประกอบ สา คญั
เพราะการที่จะดา เนินการให้สา เร็จตามนโยบายตามแผนหรือโครงการก็ตอ้งอาศยั กา ลงัคน เงิน
วสัดุอุปกรณ์และวธิีการจดัการที่ดีโดยนา ปัจจยัเหล่าน้ีมาผสมผสานกนัอยา่ งเหมาะสม เพราะจะ
เห็นไดว้า่ แมอ้งคก์ ารหรือบริษทั หรือส่วนราชการต่าง ๆ จะมีขนาดและปัจจยัต่าง ๆ เท่า ๆ กนั แต่
ผลงานที่ได้ออกมาไม่เท่ากนั ปัญหาจึงมีวา่ หวัใจของการบริหารมิไดอ้ยทู่ ี่ปริมาณมากนอ้ยของ41
ปัจจยัการบริหารเพียงอยา่ งเดียวแต่ข้ึนอยกู่ บั ประสิทธิภาพของการจดัการ ภาวะความเป็นผนู้ า
สภาพแวดลอ้ มอื่น ๆ ที่จะทา ให้เกิดผลงานที่ดีท้งัปริมาณและคุณภาพ
ดงัน้นั การบริหารงานใด ๆ ก็ตาม การที่จะไดผัลงานออกมา (Output) ก็จา เป็ นจะต้อง
ปัจจัย 3 อยา่ งที่ใส่เขา้ไปในงานก่อน (Input) คือ คน เงิน และวัสดุ และมีกระบวนการในการจัดการ
ให้ Input Factors ต่าง ๆ ผสมกลมกลืนกนั เป็นอยา่ งดีผลงานจะออกมาดีมีประสิทธิภาพ
(อมร รักษาสัตย์ และขัตติยา กรรณสูต, 2515, หน้า 289)
แนวคดิเกยี่ วกบัคุณภาพชีวติของประชาชนและชุมชน
แนวคิดการพฒั นาคุณภาพชีวิตเกิดข้ึนในมาในช่วงหลงัจากการพฒั นาสังคมแลว้
ประมาณ 10 ปีการพฒั นาคุณภาพชีวติคือเรื่องที่เรียกวา่ จปฐ.(ความจา เป็นข้นั พ้ืนฐาน) ได้ถูก
กล่าวถึงใน แผนพฒั นาฯ ฉบับที่3 (พ.ศ. 2515-2519) เป็นช่วงที่การเมืองไทยมีความผนัผวน
แนวคิดน้ีเกิดจากการพิจารณาวา่ ประเทศไดม้ีความเจริญในดา้น เศรษฐกิจรายไดข้องประชาชาติ
เพิ่มข้ึน แต่การกระจายรายไดน้ ้นัไม่ทวั่ ถึงคนส่วนใหญ่ของประเทศยงัยากจน ควรไดร้ับการ
พิจารณาการพฒั นาในแง่ของการสร้างคุณภาพชีวิตใหแ้ก่คนในสังคม โดยเฉพาะกลุ่มที่ดอ้ยโอกาส
เช่น เกษตรกรผใู้ชแ้รงงาน ลูกจา้งจปฐ. มีลกัษณะเป็นเครื่องช้ีวดัการดา รงชีพของประชาชนหรือ
เป็ นเป้ ายุทธศาสตร์ในการพัฒนา
ความหมายและความส าคัญของคุณภาพชีวติ
การใหค้วามหมายของคา วา่ “คุณภาพชีวิต” เป็นเรื่องที่ค่อนขา้งยากและมีความแตกต่าง
กนั หลากหลายเนื่องจากเหตุผลหลายประการคือ
1. คุณภาพชีวติเป็นกระบวนการทางดา้นจิตใจที่สามารถบรรยาย หรือตีความโดยผา่ น
ความคิดและภาษาที่แตกต่างกนั ความคลาดเคลื่อนจากมุมมองที่หลากหลายเกิดจากประสบการณ์
พ้ืนฐานความรู้ประเด็นการนา เสนอและขอ้เทจ็จริงต่าง ๆ
2. แนวคิดในเรื่องคุณภาพชีวิตข้ึนอยกู่ บัการกา หนดกรอบความหมายใหช้ดัเจน เพื่อให้
สามารถประเมินกระบวนการและผลต่าง ๆ ได้และใหเ้ป็นที่ยอมรับร่วมกนัของบุคคลในสังคม
เดียวกนัได้
3. ความคิดที่ก่อใหเ้กิดความเขา้ใจในความเจริญงอกงามและพฒั นาการของมนุษย์ การมี
อายยุ นืยาวกระบวนการทางดา้นจิตใจลว้นอยภู่ ายใตอ้ิทธิพลขององคป์ ระกอบต่าง ๆ รวมท้งั
ค่านิยมดว้ย ซ่ึงหากเป็นนิยามแบบเดียวกนัก็หมายถึงคนทุกคน โดยไม่มีการคา นึงถึงความแตกต่าง
ทางดา้นอายุช่วงช้นั ทางสังคม การศึกษา ซ่ึงคงยากที่จะยอมรับได้42
4. คุณภาพชีวิตเป็นกระบวนการทางดา้นจิตใจที่สามารถบรรยาย หรือตีความโดยผา่ น
ความคิดและภาษาที่แตกต่างกนั ความคลาดเคลื่อนจากมุมมองที่หลากหลายเกิดจากประสบการณ์
พ้ืนฐานความรู้ประเด็นการนา เสนอและขอ้เทจ็จริงต่าง ๆ
5. แนวคิดในเรื่องคุณภาพชีวิตข้ึนอยกู่ บัการกา หนดกรอบความหมายใหช้ดเจน เพื่อให้ ั
สามารถประเมินกระบวนการและผลต่าง ๆ ได้และใหเ้ป็นที่ยอมรับร่วมกนัของบุคคลในสังคม
เดียวกนัได้
6. ความคิดที่ก่อใหเ้กิดความเขา้ใจในความเจริญงอกงามและพฒั นาการของมนุษย์การมี
อายุยืนยาว
ดุษณี สุทธปรียาศรี (2542, หน้า 29) ให้ความหมายของ คุณภาพชีวติ ไวว้า่ คุณภาพชีวิต
ประกอบด้วยค า 2 ค า คือ
คุณภาพ หมายถึงลักษณะดี ลักษณะพิเศษ ลักษณะประจ าตัว
ชีวิต หมายถึง ความเป็นอยู่ตรงขา้มกบัความตาย
คุณภาพชีวติ หมายถึงความเป็นอยทู่ ี่ดีความอยดู่ ีมีสุข ประกอบดว้ยลกัษณะวกิฤต
4 ประการ
1. ความรู้สึกพึงพอใจต่อชีวิตโดยทวั่ ไปของบุคคล
2. ความสามารถดา้นจิตใจในการประเมินชีวติตนวา่ พอใจหรือไม่หรือเป็นสุขหรือไม่
3. การยอมรับสภาพทางกาย จิตใจ สังคมและอารมณ์ของบุคคล
4. การประเมินโดยบุคคลอื่น
เพ็ญศรี เปลี่ยนข า (2542, หน้า 293) กล่าววา่ ลกัษณะของคุณภาพชีวติ หมายถึงการ
ดา รงชีวิตของมนุษยใ์นระดบั ที่เหมาะสมตามความจา เป็นพ้ืนฐานที่ไดก้า หนดไวใ้นสังคมหน่ึง ๆ
ในช่วงเวลาหน่ึง ๆ
ดุษณี สุทธปรียาศรี (2542, หน้า 29) ให้ความหมายของคุณภาพชีวติ ไวว้า่ คุณภาพชีวิต
ประกอบด้วยค า 2 ค า คือ
คุณภาพ หมายถึงลักษณะดี ลักษณะพิเศษ ลักษณะประจ าตัว
ชีวิต หมายถึง ความเป็นอยู่ตรงขา้มกบัความตาย
คุณภาพชีวติ หมายถึงความเป็นอยทู่ ี่ดีความอยดู่ ีมีสุข ประกอบด้วยลักษณะวิกฤต
4 ประการ
1. ความรู้สึกพึงพอใจต่อชีวิตโดยทวั่ ไปของบุคคล
2. ความสามารถด้านจิตใจในการประเมินชีวติตนวา่ พอใจหรือไม่หรือเป็ นสุขหรือไม่
3. การยอมรับสภาพทางกาย จิตใจ สังคมและอารมณ์ของบุคคล43
การเปลี่ยนแปลง
ประชากร
ระบบสังคมและ
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
คุณภาพชีวติ
ทรัพยากร
กระบวนการพัฒนา
มาตรฐานการครองชีพ
4. การประเมินโดยบุคคลอื่น
ความส าคัญของคุณภาพชีวติ
คุณภาพชีวติเป็นเรื่องสา คญั มากของบุคคลและสังคมในปัจจุบนั ดงัน้ี
1. ความสา คญั ระดบั ตนเองและครอบครัว คือการมีร่างกายแขง็แรงสมบูรณ์สุขภาพ
อนามยัดีไม่เจบ็ ป่วย ทา ใหป้ ระหยดัค่าใชจ้่ายส่วนตน และสามารถประกอบอาชีพการงานไดอ้ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ทา ใหช้ีวติความเป็นอยดู่ ีครอบครัวอบอุ่น ไม่มีปัญหา
2. ความส าคัญระดับสังคม และประเทศชาติ เมื่อประชากรในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ยอ่ มทา ใหคุ้ณภาพชีวติในสังคมและประเทศดีข้ึนดว้ยแต่ท้งัน้ีรัฐตอ้งมีนโยบายที่จะเอ้ือต่อการ
พฒั นาคุณภาพชีวิตของประชากรเช่น สภาพแวดลอ้ ม การศึกษาการประกอบอาชีพ รายไดข้อง
ประชากร เป็ นต้น
องค์ประกอบของคุณภาพชีวติ
คุณภาพชีวติมีความหมายกวา้งขวางเกี่ยวขอ้งกบัศาสตร์หลายสาขาและคุณภาพชีวติ
สามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ามสภาพแวดลอ้ มและสภาวะการณ์ต่าง ๆ นกัวชิาการและหน่วยงานที่
เกี่ยวขอ้งกบัการพฒั นาคุณภาพชีวติประชากรไดก้า หนดองคป์ ระกอบของคุณภาพชีวติไวต้่าง ๆ กนั
ดงัน้ี
ภาพที่ 2-1 44
องค์การยูเนสโก (UNESCO) ไดก้า หนดองคป์ ระกอบของคุณภาพชีวติไวด้งัภาพ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546) ให้ความหมาย
ของคา วา่ “ชุมชน” หมายถึง หมู่ชน กลุ่มคนที่อยรู่ วมเป็นสังคมขนาดเล็กอาศยัอยใู่ นอาณาบริเวณ
เดียวกนัและมีผลประโยชน์ร่วมกนั
แซนเตอร์ (Sanders, 1981, อ้างถึงใน วงเดือน จงสุดกวีวงศ์, 2547)
ระดบั ที่บุคคลรู้สึกสนุกสนานต่อความเป็นไปไดใ้นชีวติของเขา พ้ืนที่คุณภาพชีวิตของ
บุคคลจะประกอบด้วย 3 ส่วน ไดแ้ก่
1. ความเป็นอยู่(Being)
2. ความเป็ นเจ้าของ (Belonging)
3. สิ่งที่จะมาถึง (Becoming)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
ชาร์มา (Sharma, 1975,อ้างถึงใน ทองพูล รังแกว้, 2540, หน้า 34) ไดแ้บ่งองคป์ ระกอบ
ของคุณภาพชีวิตออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. องคป์ ระกอบทางดา้นกายภาพ โดยพิจารณาท้งัดา้นปริมาณและด้านคุณภาพ ด้าน
ปริมาณแต่ละดา้นคุณภาพ อนัไดแ้ก่ความตอ้งการอาหาร น้า ที่อยอู่ าศยั เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ
2. องคป์ ระกอบทางดา้นสังคมและวฒั นธรรม ท้งัที่เป็นดา้นปริมาณและดา้นคุณภาพ
อนัไดแ้ก่การไดร้ับการศึกษาการมีงานทา บริการดา้นการแพทย์ สาธารณสุข สภาพแวดล้อมในที่
ท างาน ความปลอดภยัในดา้นการคมาคมขนส่ง สิทธิเสรีภาพ การพกัผอ่ นหยอ่ นใจและโอกาส
สร้างสรรค์
องค์ประกอบของคุณภาพชีวติระดับบุคคล
ตารางที่ 2-1 องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตระดับบุคคล
ความเป็นอยู่(Being) สิ่งทบี่ ุคคลควรได้รับ (Who one is)
ความเป็นอยดู่ า้นกายภาพ
1. สุขภาพกาย
2. อนามยัส่วนบุคคล
3. โภชนาการ
4. การออกกา ลงักาย
5. การแต่งกายและเส้ือผา้
6. สภาพกายภาพทวั่ ไปที่ปรากฏ45
ตารางที่ 2-1 (ต่อ)
ความเป็นอยู่(Being) สิ่งทบี่ ุคคลควรได้รับ (Who one is)
ความเป็นอยดู่ า้นจิตใจ
1. สุขภาพจิตและการปรับตัว
2. การรับรู้
3. ความรู้สึก
4. ความภาคภูมิใจการมองตนเองการควบคุมตนเอง
ความเป็นอยดู่ า้นจิตวิญญาณ
1. การใหคุ้ณค่าบุคคล
2. การใหคุ้ณค่ากบั มาตรฐานความประพฤติ
3. ความเชื่อด้านจิตวิญญาณ
ความเป็ นเจ้าของด้านกายภาพ
1. บ้าน
2. ที่ท างาน/โรงเรียน
3. เพื่อนบ้าน
4. ชุมชน
ความเป็ นเจ้าของด้านสังคม
1. ความใกลช้ิดกบัผอู้ื่น
2. ครอบครัว
3. เพื่อน
4. ผรู้่วมงาน
5. เพื่อนบ้านและชุมชน
ความเป็ นเจ้าของด้านชุมชน
1. รายได้พอเพียง
2. บริการสุขภาพและบริการสังคม
3. การจ้างงาน
4. การจัดการศึกษา
5. การจัดนันทนาการ
6. การจดังานและกิจกรรมของชุมชน
สิ่งที่จะเกิดข้ึน (Becoming) เป้าหมายส่วนบุคคลและความคาดหวงัที่จะเกิดข้ึน46
ตารางที่ 2-1 (ต่อ)
ความเป็นอยู่(Being) สิ่งทบี่ ุคคลควรได้รับ (Who one is)
การปฏิบตัิที่จะเกิดข้ึน
1. กิจกรรมภายในบา้น
2. งานที่จ่ายค่าตอบแทน
3. กิจกรรมโรงเรียนหรืออาสาสมคัร
4. การดูแลสุขภาพหรือความต้องการทางสังคม
การใชเ้วลาวา่ งที่จะเกิดข้ึน
กิจกรรมที่ส่งเสริมใหเ้กิดการผอ่ นคลายและลด
ความเครียด
ความเจริญเติบโตที่จะเกิดข้ึน
1. กิจกรรมที่ส่งเสริมใหเ้กิดการบา รุงรักษาหรือการ
ปรับปรุงความรู้และทักษะ
2. การปรับตัวเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วดัคุณภาพชีวติ
ยูเนสโก (UNESCO) (1980, หน้า 1) กา หนดองคป์ ระกอบของคุณภาพชีวิตไว้7 ด้าน
ไดแ้ก่อาหาร สุขภาพ การศึกษา สิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากร ที่อยอู่ าศยัและการต้งัถิ่นฐาน การมีงาน
ทา และค่านิยม และศาสนาจริยธรรม กฎหมาย และปัจจัยด้านจิตวิทยา
เอสแคป (ESCAP) (1990, pp. 9-12) กา หนดตวัเกณฑก์ ารวดัคุณภาพชีวิตไว้7 ด้าน
แยกเป็ น 28 ตวัช้ีวดั ดงัน้ี
1. ความมนั่ คงปลอดภยัทางเศรษฐกิจไดแ้ก่รายได้การใชจ้่ายการออม และ
ความยากจน
2. สุขภาพ ไดแ้ก่อายขุ ยัเฉลี่ยการเป็นโรคการตาย โภชนาการ ภัยพิบัติหรือ
ความหายนะ
3. ชีวติการทา งาน ไดแ้ก่การวา่ งงาน อุบตัิเหตุจากการทา งาน ความขดัแยง้ทาง
อุตสาหกรรม สภาพการท างาน
4. ชีวติครอบครัวไดแ้ก่ เด็กวยัรุ่น ผใู้หญ่ความแตกแยกในครอบครัว
5. การใชส้ ติปัญญาไดแ้ก่การอ่านออกเขียนได้การศึกษานอกโรงเรียน การเรียนรู้
ตลอดชีวิตเชิงวัฒนธรรม ชีวิตด้านการใช้เหตุผล
6. ชีวติชุมชน ไดแ้ก่การมีส่วนร่วมในสังคม การมีส่วนร่วมทางการเมืองความวนุ่ วาย
ในชุมชน อัตราอาชญากรม47
7. สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ไดแ้ก่ที่อยอู่ าศยั โครงสร้างพ้ืนฐานในการคมนาคม
การติดต่อสื่อสาร และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจิตอาสา
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมส าหรับคนไทย
ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2535, หน้า 36-38) เป็ นทฤษฎีทางจิตวิทยาทฤษฎีแรกของ
นกัศึกษาไทยที่สร้างข้ึน บุคคลผรู้วบรวมเขียนเป็นทฤษฎีคือศาสตราจารย์ดร.ดวงเดือน
พันธุมนาวิน กรอบแนวคิดที่เป็นจุดเด่นของทฤษฎีน้ีมีความวา่ ลกัษณะพ้ืนฐานและองคป์ ระกอบ
ทางจิตใจซ่ึงจะนา ไปสู่พฤติกรรมที่พึงปรารถนา เพื่อส่งเสริมใหบ้ ุคคลเป็นคนดีและคนเก่ง ซึ่งได้
ทา การศึกษาวจิยัถึงสาเหตุพฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง โดยไดท้ า การประมวลผลการวิจัยที่
เกี่ยวขอ้งกบัการศึกษาสาเหตุของพฤติกรรมต่าง ๆ ของคนไทยท้งัเด็กและผใู้หญ่อายตุ ้งัแต่6-60 ปี
วา่ พฤติกรรมเหล่าน้นั มีสาเหตุทางจิตใจอะไรบา้งและไดน้ า มาประยกุ ตเ์ป็นทฤษฎีตน้ ไมจ้ริยธรรม
ส าหรับคนไทยข้ึน โดยแบ่งตน้ ไมจ้ริยธรรมออกเป็ น 3 ส่วน ดงัน้ี
ส่วนที่หน่ึง ไดแ้ก่ดอกและผลไมบ้ นตน้ ที่แสดงถึงพฤติกรรมการทา ดีละเวน้ ชวั่ และ
พฤติกรรมการทา งานอยา่ งขยนัขนัแขง็เพื่อส่วนรวม ซ่ึงลว้นแต่เป็นพฤติกรรมของพลเมืองดี
พฤติกรรมที่เอ้ือเฟ้ือต่อการพฒั นาประเทศ
ส่วนที่สองไดแ้ก่ ส่วนลา ตน้ของตน้ ไม้แสดงถึงพฤติกรรมการท างานอาชีพอยา่ งขยนั
ขันแข็ง ซึ่งประกอบด้วยจิตลักษณะ5 ด้าน คือ
1. เหตุผลเชิงจริยธรรม
2. มุ่งอนาคตและการควบคุมตนเอง
3. ความเชื่ออ านาจในตน
4. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ
5. ทศันคติคุณธรรมและค่านิยม
ส่วนที่สาม ไดแ้ก่รากของตน้ ไม้ที่แสดงถึงพฤติกรรมการท างานอาชีพอยา่ งขยนัขนัแขง็
ซึ่งประกอบด้วยจิตลักษณะ 3 ด้าน คือ
1. สติปัญญา
2. ประสบการณ์ทางสังคม
3. สุขภาพจิต48
ภาพที่ 2-2 ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม แสดงจิตลกัษณะพ้ืนฐานและองคป์ ระกอบทางจิตใจของ
พฤติกรรมทางจริยธรรม
จิตลกัษณะท้งัสามน้ีอาจใช้เป็ นสาเหตุของการพัฒนาจิตลักษณะ 5 ประการ ที่ล าต้นของ
ตน้ ไมก้็ได้กล่าวคือ บุคคลจะตอ้งมีลกัษณะพ้ืนฐานทางจิตใจ3 ดา้น ในปริมาณที่สูงพอเหมาะกบั
อายุจึงจะเป็นผทู้ี่มีความพร้อมที่จะพฒั นาจิตลกัษณะท้งั 5 ประการ ที่ล าต้นของต้นไม้โดยที่จิต
ลกัษณะท้งั 5 น้ีจะพัฒนาไปเองโดยอัตโนมัติ ถ้าบุคคลที่มีความพร้อมทางจิตใจ 3 ดา้นดงักล่าวและ
อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทางบา้น ทางโรงเรียนและสังคมที่เหมาะสม นอกจากน้นั บุคคลยงัมีความ
พร้อมที่จะรับการพัฒนาจิตลักษณะบางประการใน 5ดา้นน้ีโดยวธิีการอื่น ๆ ดว้ย ฉะน้นัจิตลกัษณะ
พ้ืนฐาน 3 ประการ จึงเป็นสาเหตุของพฤติกรรมของคนดีและของคนเก่งนนั่ เอง นอกจากน้ีจิต
ลกัษณะพ้ืนฐาน 3 ประการที่รากน้ีอาจเป็นสาเหตุร่วมกบัจิตลกัษณะ5 ประการที่ล าต้น
ทฤษฎีตน้ ไมจ้ริยธรรมน้ีเกิดจากผลการวจิยัพฤติกรรมและจิตลกัษณะของคนไทยโดย
เมื่อสร้างข้ึนแลว้ทฤษฎีน้ีก็ไดช้้ีแนวทางการต้งัสมมติฐานการวจิยัเพื่อหาหลกัฐานใหม่ๆ มาเพื่อเติม
ในทฤษฎีน้ีอีกเช่น การวจิยัที่เกี่ยวกบัจิตลกัษณะพ้ืนฐาน 3 ประการ ที่สามารถจ าแนกคนเป็ น
พฤติกรรมพลเมือง
ดี
พฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง
พฤติกรรมขยันเรียน
การอบรมเลีย้งดูเด็ก
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมการท างาน
พฤติกรรมพัฒนาสังคม
ทัศนคติค่านิยม เหตผลเชิงจริยธรรมแรงจงูใจใฝ่สัมฤทธิ์มุ่งอนาคต-ควบคมุตนความเชื่ออ ำนาจในตนสุขภาพจิตดี
ความเฉลียวฉลาด ประสบการณ์ทางสังคมสูง49
4 ประเภท เหมือนบวัสี่เหล่ากบัความสามารถในการใชเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของบุคคลโดยพบวา่
คนที่เป็นบวัเหนือน้า เท่าน้นั (มีจิตลกัษณะพ้ืนฐาน 3 ดา้นน้ีในปริมาณสูงเหมาะสมกบัอาย) ุ เป็ นผู้ที่
จะสามารถรับการพฒั นาเหตุผลเชิงจริยธรรมไดอ้ยา่ งเหมาะสมกบัอายุตามทฤษฎีของ Kohlberg
(1976)
การสอน “คุณธรรม/จริยธรรม” เป็นความตอ้งการที่คนรุ่นหน่ึงจะช้ีนา คนอีกรุ่นหน่ึง
โดยผสู้อนมีความเชื่อวา่ ประสบการณ์ของตนอาจสร้างความเข้าใจเรื่องคุณธรรม/จริยธรรม (หรือ
ความดีความถูกต้องความเหมาะสม)อยา่ งถ่องแทใ้นระดบั หน่ึงและต้องการให้เกิดความเชื่อ
การยึดหลักคุณธรรม/จริยธรรมท าให้มนุษย์มีความสุขความสวยและความงาม โดยที่ความสุขน้นั
ควรเป็นความสุขแบบเรียบง่ายและยงั่ ยนื
คุณสมบัติอันเป็ นความพร้อมที่จะพัฒนาจริยธรรมของบุคคลประกอบด้วย
1. ความรู้เกี่ยวกบัธรรมชาติของชีวติและหลกัจริยธรรม ทุกคนได้มีโอกาสเรียนรู้มา
ต้งัแต่วยัตน้ของชีวติจากการเล้ียงดูการศึกษาอบรม และจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดย
อาจเป็นในวถิีทางที่ต่างกนั ซ่ึงเป็นผลใหบ้ ุคคลมีพฒั นาการทางจริยธรรมต่างกนั จากกฎเกณฑ์
การตดัสินที่ต่างกนั
2. ความใฝ่ ธรรม มนุษย์มีธรรมชาติของการแสวงหาความถูกต้องเป็ นธรรมหรือ
ความดีงามต้งัแต่วยัทารกคุณสมบตัิน้ีทา ใหบ้ ุคคลนิยมคนดีชอบสังคมที่มีคุณธรรมจริยธรรม
ต้องการที่จะพัฒนาตนเองให้เป็ นคนดี
อยา่ งไรก็ตามประสบการณ์ในชีวติจากการเล้ียงดูและเจริญเติบโตในสภาพแวดลอ้ มที่
ส่งเสริมคุณธรรมเป็นปัจจยัสา คญั ใหบ้ ุคคลพร้อมที่จะพฒั นาตนเองใหม้ีจริยธรรมสูงกวา่
3. ความรู้จกัตนเองของบุคคลน้นั คือ สร้างความสามารถในการพิจารณาให้รู้อิทธิพล
ของความดีและความไม่ดีของตนใหช้ดัเจน ซ่ึงจะช่วยใหบ้ ุคคลสามารถเสริมสร้างความดีของตนให้
มีพลังเข็มแข็ง ในลักษณะที่ตนเองและสังคมยอมรับได้ความรู้จกัตนเองน้ีจะทา ใหบ้ ุคคลมีความ
มนั่ ใจ มีพลงัและพร้อมที่จะขจดัความไม่ดีของตนและพฒั นาตนเองอยา่ งถูกตอ้งดีข้ึน
วิถีทางพัฒนาจริยธรรม
1. การศึกษาเรียนรู้กระท าได้หลายวิธีดงัน้ี
1.1 การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองดว้ยการหาความรู้จากการอ่านหนงัสือเกี่ยวกบั
ปรัชญาศาสนาวรรณคดีที่มีคุณค่า หนงัสือเกี่ยวกบัจริยธรรมทวั่ ไป และจริยธรรมวชิาชีพ
1.2 การเขา้ร่วมประชุมสัมมนา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นและประสบการณ์
เกี่ยวกบัคุณธรรมจริยธรรม และการคบหาบณั ฑิตผใู้ส่ใจดา้น จริยธรรม
1.3 การเรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิตและจากประสบการณ์ในสถานที่ปฏิบัติงาน50
ประสบการณ์จริงเป็นโอกาสอนั ประเสริฐในการเรียนรู้จริยธรรมแห่งชีวิตที่ช่วยใหผ้เู้รียนเรียนรู้ได้
อยา่ งลึกซ้ึงท้งัดา้นเจตคติและทกัษะการแกป้ ัญหาเชิงจริยธรรม อยา่ งไรก็ตามข้ึนอยกู่ บัความพร้อม
ของบุคคลผมู้ีความพร้อมนอ้ยอาจจะไม่ไดป้ ระโยชน์จากการเรียนรู้อนั มีค่าน้ีเลย
2. การวิเคราะห์ตนเอง บุคคลผมู้ีความพร้อมจะพฒั นามีความต้งัใจและเห็นความสา คญั
ของการวิเคราะห์ตนเองเพื่อทา ความรู้จกัในตวัตนเองดว้ยการพิจารณาเกี่ยวกบัความรู้สึกนึกคิดและ
พฤติกรรมการแสดงออกของตนเองจะช่วยใหบ้ ุคคลตระหนกัรู้คุณลกัษณะของตนเอง รู้จุดดีจุดด้อย
ของตน รู้วา่ ควรคงลกัษณะใดไวก้ารวเิคราะห์ตนเองกระทา ไดด้ว้ยหลกัการต่อไปน้ี
2.1 การรับฟังความคิดเห็นเชิงวพิากษจ์ากคา พดูและอากปักิริยาจากบุคคลรอบขา้ง
เช่น จากผู้บังคับบัญชา จากเพื่อนร่วมงาน จากผู้ใกล้ชิดหรือบุคคลในครอบครัว
2.2 วเิคราะห์ตนเองเกี่ยวกบัความคิดความต้องการเจตคติการกระท าและผล
การกระทา ท้งัในอดีตและปัจจุบนั
2.3 คน้ หาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ เช่น จากต ารา บทความ รายงานการวิจัยด้าน
พฤติกรรมศาสตร์หรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวขอ้งเพื่อนา มาประยกุ ตใ์ชใ้นการวเิคราะห์และพฒั นาตน
อยา่ งถ่องแท้
2.4 เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาจิตใจ (จิตใจและพฤติกรรมมนุษยเ์ป็นสิ่งที่
เปลี่ยนแปลงและพฒั นาไดเ้ช่นเดียวกบั สรรพสิ่งท้งหลายในโลก ั ) ทา ใหจ้ิตใจไดเ้กิดการ
เปลี่ยนแปลงเกิดปัญญารับรู้ตนเองอยา่ งลึกซ้ึงและแทจ้ริง
3. การฝึ กตน เป็นวธิีการพฒั นาดา้นคุณธรรมจริยธรรมดว้ย ตนเองข้นั สูงสุดเพราะเป็ น
การพฒั นาความสามารถของบุคคลในการควบคุมการประพฤติปฏิบตัิของตนใหอ้ยใู่ นกรอบของ
พฤติกรรมที่พึงปรารถนาของสังคมท้งัในสภาพการณ์ปกติและเมื่อเผชิญปัญหาหรือขดัแยง้
3.1 การฝึกวนิยัข้นั พ้ืนฐาน เช่น ความขยนั หมนั่ เพียรการพึ่งตนเองความตรงต่อเวลา
ความรับผิดชอบ การรู้จักประหยัดและออม ความซื่อสัตย์ความมีสัมมาคารวะความรักชาติฯ
3.2 การรักษาศีลตามความเชื่อในศาสนาของตน ศีลเป็นตวักา หนดที่จะทา ใหง้ดเวน้
ในการที่จะกระทา ชวั่ ร้ายใด ๆ อยใู่ นจิตใจส่งผลใหบ้ ุคคลมีพลงัจิตที่เขม้แขง็รู้เท่าทนัความคิด
สามารถควบคุมตนได้
3.3 การท าสมาธิเป็นการฝึกใหเ้กิดการต้งัมนั่ ของจิตใจทา ใหเ้กิดภาวะมีอารมณ์หน่ึง
เดียวของกุศลจิต เป็ นจิตใจที่สงบผอ่ งใสบริสุทธ์ิเป็นจิตที่เขม้แขง็ มนั่ คงแน่วแน่ทา ให้เกิดปัญญา
สามารถพิจารณาเห็นทุกอยา่ งตรงสภาพความเป็นจริง51
3.4 ฝึ กการเป็ นผู้ให้เช่น การรู้จัก ให้อภัย รู้จกัแบ่งปันความรู้ความดีความชอบ
บริจาคเพื่อสาธารณประโยชน์อุทิศแรงกายแรงใจช่วยงานสาธารณประโยชน์โดยไม่หวงั
ผลตอบแทนใด ๆ
สรุปไดว้า่ การพฒั นาจริยธรรมดว้ยวธิีพฒั นาตนเองตามข้นั ตอนดงักล่าวเป็นธรรมภาระ
ที่บุคคลสามารถปฏิบตัิไดค้วบคู่กบัการดา เนินชีวติประจา วนั แต่มิใช่เป็นการกระทา ในลกัษณะเสร็จ
สิ้นตอ้งกระทา อยา่ งต่อเนื่องจนเป็นนิสัยเพราะจิตใจของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไดต้ลอดเวลาเฉกเช่น
กระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ทฤษฎกีารเรียนรู้ทางสังคม
Bandura (1977) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โดย Bandura (1977) ใหค้วามเห็นวา่ การที่บุคคลเกิดการเรียนรู้น้นั ไม่จา เป็นจะตอ้งพิจารณาจาก
การแสดงออกเสมอไป หากแต่การไดม้าซ่ึงความรู้ใหม่ๆ (Acquired) ก็ถือวา่ ไดเ้กิดการเรียนรู้แลว้
ถึงแมว้า่ จะยงัไม่มีการแสดงออกก็ตาม และการแสดงออกของพฤติกรรมก็สะทอ้นใหเ้ห็นการเรียนรู้
นอกจากน้ีแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม Bandura (1977) และไดเ้สนอวา่
พฤติกรรมของคนเราน้นั ไม่ไดเ้กิดข้ึนและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจยัทางสภาพแวดลอ้ มเพียง
อยา่ งเดียวหากแต่จะตอ้งมีปัจจยัส่วนบุคคลร่วมดว้ยและการเขา้ร่วมของปัจจยัส่วนบุคคลน้นั
จะตอ้งร่วมกนั ในลกัษณะที่กา หนดซ่ึงกนัและกนั กบั ปัจจยัทางดา้นพฤติกรรม (สมโภชน์
เอี่ยมสุภาษิต, 2550, หน้า 48-50)
1. ความสัมพนัธ์ระหวา่ งปัจจยัดา้นบุคคลกบั พฤติกรรม กล่าววา่ ปัจจัยด้านความคิด
ความรู้สึกความคาดหวังความเชื่อการรับรู้เกี่ยวกบั ตนเอง เป้ าหมายและความต้งัใจเป็นตวักา หนด
ลักษณะและทิศทางของพฤติกรรม ในขณะที่พฤติกรรมก็เป็นตวักา หนดลกัษณะการคิดและการ
สนองตอบทางอารมณ์
2. ความสัมพนัธ์ระหวา่ งปัจจยัดา้นสภาพแวดลอ้ มกบั บุคคลกล่าววา่ ความคาดหวงั
ความเชื่ออารมณ์และความสามารถทางปัญญาของบุคคลจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลง โดยอิทธิพล
ทางสังคมที่ใหข้อ้มูลและกระตุน้การสนองตอบทางอารมณ์โดยการผา่ นตวัแบบการสอน และ
การชักจูงทางสังคม โดยแต่ละบุคคลตอบสนองต่อสิ่งเร้าแตกต่างกนั ตามสภาพแวดลอ้ มทางสังคม
และลักษณะทางกายภาพ เช่น อายุขนาดของร่างกายเช้ือชาติเพศความน่าสนใจของร่างกาย
บทบาทและสภาพทางสังคม52
3. ความสัมพนัธ์ระหวา่ งพฤติกรรมและสภาพแวดลอ้ ม กล่าววา่ พฤติกรรมเปลี่ยน
เงื่อนไขตามสภาพแวดล้อม ในขณะเดียวกนั เงื่อนไขของสภาพแวดลอ้ มที่เปลี่ยนไปน้นั ก็ทา ให้
พฤติกรรมถูกเปลี่ยนไปด้วย
ท้งัน้ีBandura (1977) เชื่อวา่ การเรียนรู้ของคนน้นั ส่วนใหญ่เกิดข้ึนจากการสังเกต
พฤติกรรมจากผู้อื่นซึ่งเป็ นตัวแบบ ในการเรียนรู้ผา่ นตวัแบบสามารถถ่ายทอดท้งัความคิดและ
การแสดงออกได้พร้อม ๆ กนั กระบวนการเรียนรู้จากการสังเกตตัวแบบ ประกอบด้วย
4 กระบวนการ (สุรางค์ โค้วตระกูล, 2548, หน้า 240-244) ดงัน้ี
1. กระบวนการใส่ใจ(Attention) ความใส่ใจของบุคคลเป็นสิ่งสา คญั มาก บุคคลจะไม่
สามารถเรียนรู้ไดถ้า้ขาดการใส่ใจและจะรับรู้ไดอ้ยา่ งแม่นยา ถึงพฤติกรรมที่ตวัแบบแสดงออก
องคป์ ระกอบที่มีผลต่อกระบวนการใส่ใจมี2 องค์ประกอบ ไดแ้ก่องค์ประกอบของ ตัวแบบเอง คือ
ตวัแบบตอ้งมีลกัษณะเด่น และพฤติกรรมที่ตวัแบบแสดงออกไม่มีความซบั ซอ้ น ผู้สังเกตจึงจะจ าได้
มาก
2. กระบวนการจดจ า (Retention) การที่บุคคลสามารถที่จะเลียนแบบหรือแสดง
พฤติกรรมเหมือนตัวแบบได้อาจจะมีการจดจ าด้วยค าพูด หรือการจดจ าด้วยภาพ ซึ่งการจดจ าด้วย
ภาพจะท าให้จดจ าได้นานและคงทน
3. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ (Reproduction) เป็ นกระบวนการที่
บุคคลน า สิ่งที่จดจา มาแสดงออกเป็ นการกระท า หรือแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบปัจจัยส าคัญ
ของความสามารถในการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ คือความพร้อมท้งัดา้นร่างกายและทกัษะ
ที่จ าเป็ นในการเลียนแบบ โดยผเู้รียนแต่ละคนอาจแสดงไดแ้ตกต่างกนั
4. กระบวนการจูงใจ(Motivation) การที่บุคคลที่เกิดการเรียนรู้แลว้จะแสดงพฤติกรรม
การเรียนรู้หรือไม่น้นั ข้ึนอยกู่ บักระบวนการจูงใจวา่ พฤติกรรมน้นั เป็นที่ยอมรับหรือไม่
ความพึงพอใจในรางวัลการประเมินตนเองและมาตรฐานภายในตวันอกจากน้ีนกัเรียนยงัสามารถ
เกิดการเรียนรู้จากการสังเกตไดโ้ดยกระบวนการต่อไปน้ี
1. การเรียนรู้โดยการสังเกตและจากผู้ที่มีหน้าที่อบรมผู้เรียน (Socializing Agent)
การเรียนรู้สามารถเกิดข้ึนไดต้ลอดเวลา ตวัแบบที่ผเู้รียนสังเกตจึงเป็นไดท้ ้งัจากตวัแบบจริงหรืออาจ
เป็นตวัแบบที่ไม่มีชีวติ เช่น สื่อทางโทรทัศน์สื่อทางภาพยนตร์และการ์ตูน นอกจากน้ีครูและ
ผู้ปกครอง ซึ่งเป็ นผู้ที่ใกล้ชิดผู้เรียนมากที่สุด มีหนา้ที่สา คญั ก็คือการสอนให้นักเรียน
มีความรับผิดชอบ มีการแสดงพฤติกรรมที่เป็ นที่ยอมรับของสังคม และอยใู่ นขอบเขตของ
วัฒนธรรมประเพณีโดยเรียกกระบวนการน้ีวา่ การถ่ายทอดทางสังคมหรือสังคมประกิต53
(Socialization)การเป็ นตัวแบบที่ดีของครูและผู้ปกครองจะช่วยใหผ้เู้รียนมีพฤติกรรมที่ดีเป็ นที่
ยอมรับของสังคม
2. การเรียนรู้โดยการสังเกตและการเรียนการสอน ในห้องเรียนครูเป็ นตัวแบบที่มี
อิทธิพลต่อนกัเรียน นกัเรียนแต่ละคนเป็นท้งัผสู้ ังเกตและตวัแบบ นักเรียนบางคนเป็ นตัวแบบที่มี
อิทธิพลต่อเพื่อนในช้นั เรียน เพราะเป็นตวัแบบที่ดีและมีลกัษณะที่คลา้ยคลึงกบัผเู้รียนมากที่สุด
เนื่องจากอยใู่ นวยัเดียวกนั แต่พฤติกรรมที่เรียนรู้จากเพื่อนมีท้งัดีและไม่ดีฉะน้นัความรู้เกี่ยวกบั
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบจึงมีความส าคัญมากส าหรับครูในการสอน
โดยนอกจากครูจะเป็ นตัวแบบแลว้ยงัช่วยสอนใหน้กัเรียนเป็นท้งัตวัแบบและผเู้รียนที่มีคุณค่ามี
พฤติกรรมตามที่สังคมต้องการ โดยการปลูกฝังพฤติกรรมที่เอ้ือสังคม (Prosocial Behavior) เช่น
การมีน้า ใจการใหค้วามร่วมมือกบัผอู้ื่น ช่วยเหลือผอู้ื่น มีความเมตตากรุณาความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่
การรู้จักมีความเกรงใจผู้อื่น เอาใจเขามาใส่ใจเรา โดยครูควรแสดงตนเป็นตวัอยา่ งและใหก้าร
สนับสนุน
การเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งเป็ นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี
ปฏิสัมพนัธ์กบั สิ่งแวดลอ้ ม หรือจากการฝึกหดั รวมท้งัการเปลี่ยนปริมาณความรู้ของผเู้รียน งานที่
ส าคญั ของครูก็คือช่วยนกัเรียนแต่ละคนใหเ้กิดการเรียนรู้หรือมีความรู้และทกัษะตามที่หลกัสูตรได้
วางไว้ครูมีหนา้ที่จดัประสบการณ์ในห้องเรียน เพื่อจะช่วยใหน้กัเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตาม
วตัถุประสงคข์องบทเรียน ดงัน้นัความรู้เกี่ยวกบักระบวนการการเรียนรู้จึงเป็นรากฐานของการสอน
ที่มีประสิทธิภาพ
ทฤษฎกีารเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning Theory) ซึ่งเป็ น
ทฤษฎีของศาสตราจารยบ์ นัดูราแห่งมหาวทิยาลยัสแตนฟอร์ด(Stanford) ประเทศสหรัฐอเมริกา
บนัดูรามีความเชื่อวา่ การเรียนรู้ของมนุษยส์ ่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
จึงเรียกการเรียนรู้จากการสังเกตวา่ “การเรียนรู้โดยการสังเกต” หรือ “การเลียนแบบ” และเนื่องจาก
มนษย์มีปฏิสัมพันธ์ (Interact) กบั สิ่งแวดลอ้ มที่อยรู่ อบ ๆ ตวัอยเู่สมอ บนัดูราอธิบายวา่ การเรียนรู้
เกิดจากปฏิสัมพนัธ์ระหวา่ งผเู้รียนและสิ่งแวดลอ้ มในสังคม ซ่ึงท้งัผเู้รียนและสิ่งแวดลอ้ มมีอิทธิพล
ต่อกนัและกนั ต่อมาทฤษฎีไดเ้ปลี่ยนชื่อเป็น การเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive
Learning Theory) เนื่องจากบนัดูราพบจากการทดลองวา่ สาเหตุที่สา คญั อยา่ งหน่ึงในการเรียนรู้ด้วย
การสังเกต คือ ผู้เรียนจะต้องมีการเข้ารหัส (Encoding) ในความทรงจา ระยะยาวไดอ้ยา่ งถูกตอ้ง
นอกจากน้ีผเู้รียนตอ้งสามารถที่จะประเมินไดว้า่ ตนเลียนแบบไดด้ีหรือไม่ดีอยา่ งไรและจะตอ้ง54
ควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ (Metacognitive) บันดูราจึงไดส้ รุปวา่ การเรียนรู้โดยการสังเกต จึงเป็ น
กระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา (Cognitive Process) (สุรางค์ โคว้ตระกูล, 2545)
หลกัการทวั่ ไปของการสอนโดยใช้ทฤษฎกีารเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
บ่งช้ีวตัถุประสงคท์ ี่จะใหน้กัเรียนแสดงพฤติกรรม หรือเขียนวตัถุประสงคเ์ป็นเชิง
พฤติกรรม
แสดงตวัอยา่ งของการกระทา หลาย ๆ ตวัอยา่ งซ่ึงอาจจะเป็นบุคคลการ์ตูน ภาพยนตร์
วดีีโอโทรทศัน์และสิ่งพิมพต์ ่าง ๆ
ใหค้า อธิบายควบคู่ไปกบัการใหต้วัอยา่ งแต่ละอยา่ ง
ช้ีแนะข้นั ตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นกัเรียน เช่น แนะใหส้ นใจสิ่งเร้าที่ควรจะ
ใส่ใจหรือเลือกใส่ใจ
จดัเวลาใหน้กัเรียนมีโอกาสที่แสดงพฤติกรรมเหมือนตวัแบบ เพื่อจะไดดู้วา่ นกัเรียน
สามารถที่จะกระทา โดยการเลียนแบบหรือไม่ถา้นกัเรียนทา ไดไ้ม่ถูกตอ้งอาจจะตอ้งแกไ้ขวธิีสอน
หรืออาจจะแกท้ ี่ตวัผเู้รียน
ใหแ้รงเสริมแก่นกัเรียนที่สามารถเลียนแบบไดถู้กตอ้ง เพื่อจะให้นักเรียนมีแรงจูงใจที่จะ
เรียนรู้และเป็นตวัอยา่ งแก่นกัเรียน
ทฤษฎเีกยี่ วกบัแรงจูงใจ
ความหมายของแรงจูงใจและการจูงใจ
แรงจูงใจ คือ พลงัผลกัดนั ให้คนมีพฤติกรรม และยงักา หนดทิศทางและเป้าหมายของ
พฤติกรรมน้นัดว้ยคนที่มีแรงจูงใจสูงจะใชค้วามพยายามในการกระทา ไปสู่เป้าหมายโดยไม่ลดละ
แต่คนที่มีแรงจูงใจต่า จะไม่แสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ลม้ เลิกการกระทา ก่อนบรรลุเป้าหมาย
ความหมายของแรงจูงใจและการจูงใจ(Definition of Motive and Motivation)
แรงจูงใจ(Motive) เป็นคา ที่ไดค้วามหมายมาจากคา ภาษาละตินที่วา่ movere ซึ่งหมายถึง
“เคลื่อนไหว (Move)”ดงัน้นั คา วา่ แรงจูงใจจึงมีการใหค้วามหมายไวต้่าง ๆ กนัดงัน้ี
1. แรงจูงใจ หมายถึง “บางสิ่งบางอยา่ งที่อยภู่ ายในตวัของบุคคลที่มีผลทา ใหบ้ ุคคลตอ้ง
กระท า หรือเคลื่อนไหว หรือมีพฤติกรรมในลักษณะที่มีเป้ าหมาย” (Walters, 1978, p. 218) กล่าวอีก
นัยหน่ึงก็คือแรงจูงใจเป็นเหตุผลของการกระทา นนั่ เอง
2. แรงจูงใจ หมายถึง “สภาวะที่อยภู่ ายในตวัที่เป็นพลงั ทา ใหร้่างกายมีการเคลื่อนไหว
ไปในทิศทางที่มีเป้าหมาย ที่ได้เลือกไว้แล้ว ซ่ึงมกัจะเป็นเป้าหมายที่มีอยสู่ ภาวะสิ่งแวดลอ้ ม”
(Loundon and Bitta, 1988, p. 368)55
จากความหมายน้ีจะเห็นไดว้า่ แรงจูงใจจะเกี่ยวขอ้งกบัองคป์ ระกอบที่สา คญั 2 ประการ
คือ
เป็นกลไกที่ไปกระตุน้ พลงัของร่างกายใหเ้กิดการกระทา
เป็นแรงบงัคบัใหก้ บั พลงัของร่างกายที่จะกระทา อยา่ งมีทิศทาง
สิทธิโชค วรานุสันติกูล(2546, หน้า 157-182) ไดก้ล่าววา่ ทฤษฎีเกี่ยวกบัแรงจูงใจเป็ น
เรื่องที่น่าสนใจมากของผทู้ี่เกี่ยวขอ้งกบัการบริหารงาน ท้งัภาคราชการและธุรกิจเอกชน รวมถึง
ระดบั บุคคลก็ไดร้ับความสนใจเหมือนกนั กรณีที่บุคคลต้องการพัฒนาตนเอง ท้งัน้ีก็เพราะทุกฝ่ายก็
รู้ซ้ึงวา่ ตวับุคคลเป็นเหตุสา คญั ในอนั ที่จะทา ใหก้ารทา งานของเขาและหน่วยงานไดผ้ลดีหรือไม่การ
ที่บุคคลต้งัใจทา งานอยา่ งไรหรือไม่ตอ้งข้ึนอยกู่ บัแรงจูงใจของเขาเป็นสา คญั ผู้ที่แสดงพฤติกรรมจิต
อาสาหรือเป็นอาสาสมคัรก็เช่นกนัยอ่ มตอ้งมีแรงจูงใจในการทา งานดว้ยแรงจูงใจเป็ นค าส าคัญที่มี
ความหมายในฐานะเป็นตวักา หนดพฤติกรรม ดงัน้นั
แรงจูงใจ หมายถึงแรงกระตุน้ หรือแรงผลกัดนั ใหเ้กิดพฤติกรรม เป็ นแรงที่ให้พลังงาน
กระตุน้ ร่างกายให้กระท าพฤติกรรม เป็นแรงกระตุน้ ที่มีการกา หนดทิศทางไวว้า่ จะทา พฤติกรรม
ออกไปอยา่ งไรแบบใดและเป็นแรงกระตุน้ ใหบ้ ุคคลรักษาพฤติกรรมน้นั เอาไว้(Steers & Porter,
1979, p. 6, อ้างถึงใน สิทธิโชค วรานุสันติกูล, 2546, หน้า 157) โดยทวั่ ไปแรงจูงใจไดแ้ก่
ความต้องการ (Need) ความปรารถนา (Desire) หรือความมุ่งหวงั (Expectancy)
แรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอก
1. แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivator)
แรงจูงใจภายใน หมายถึงแรงจูงใจที่เกิดข้ึนภายในตวับุคคลซ่ึงอาจจะเป็นทศันคติ
ความต้องการฯ ที่มีผลท าให้คนเราแสดงพฤติกรรมออกไป เพราะรักหรือชอบที่จะทา อยา่ งน้นัจาก
ใจจริง พวกเขาก็จะหาเวลาและทุ่มเททุนทรัพยส์ ่วนตวัเพื่อที่จะไดม้ีโอกาสทา กิจกรรมที่ตนเองชอบ
อยา่ งน้ีเรียกวา่ ท าไปด้วยแรงจูงใจภายใน ข้อสังเกตคือผลงานที่ไดอ้อกมาจากผทู้ี่ทา กิจกรรมต่าง ๆ
ด้วยแรงจูงใจภายในมักจะเป็ นผลงานที่มีคุณภาพดีเพราะเขามกัจะทุ่มเท และเสียสละทุกอยา่ งเพื่อ
ทา กิจกรรมน้นั ไดด้ีที่สุดเพราะกิจกรรมน้นั เป็นสิ่งที่เขาชอบทา
2. แรงจูงใจภายนอก(Extrinsic Motivator)
แรงจูงใจภายนอก หมายถึงแรงจูงใจที่เกิดข้ึนเนื่องจากไดร้ับสิ่งจูงใจจากภายนอกตวั
บุคคลที่มากระตุน้ ใหเ้กิดพฤติกรรม ดว้ยความมุ่งหมายที่จะใหเ้ราทา พฤติกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
เช่น ค าชมเชย หรือการยกยอ่ ง เป็นสิ่งจูงใจแก่บุคคลใหแ้ สดงพฤติกรรมที่นา มาซ่ึงคา ชม เป็ นต้น
ทฤษฎีเกี่ยวกบัแรงจูงใจที่นา มาใชใ้นการศึกษาคร้ังน้ีคือ
ทฤษฎีERG ของเคลตัลแอลเดอเฟอร์(Alderfer’s Existence, Relatedness Growth 56
Theory) (Alderfer, 1979, p. 33) ไดแ้บ่งระดบัความตอ้งการของมนุษยอ์อกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. ความตอ้งการดา รงอยู่(Existence Needs) เป็ นความต้องการพ้ืนฐาน และจา เป็นที่สุด
ส าหรับการด ารงชีวิตของมนุษย์เป็นความตอ้งการที่มนุษยต์อ้งการไดร้ับการตอบสนองก่อน
ความต้องการอื่น ๆ ไดแ้ก่ความต้องการอาหาร น้า ที่อยอู่ าศยั ความมนั่ คงปลอดภยั การได้รับ
ความคุ้มครองการไดอ้ยใู่ นสังคมที่เป็นระเบียบ มีกฎหมายที่จะช่วยคุม้ครองใหพ้ น้อนั ตรายต่าง ๆ
2. ความต้องการความสัมพันธ์(Relatedness Needs) เป็ นความต้องการที่จะมี
ความสัมพนัธ์กบั บุคคลอื่น ๆ ในสังคม ตอ้งการใหส้ ังคมยอมรับตนเขา้เป็นสมาชิกไดม้ีส่วนร่วมใน
สังคม ตอ้งการไดร้ับการยกยอ่ งนบัถือจากคนในสังคม รวมถึงความเชื่อมนั่ ในตนเอง
3. ความตอ้งการความกา้วหนา้ (Growth Needs) เป็นความตอ้งการข้นั สูงสุดเป็น
ความตอ้งการที่จะไดร้ับการยกยอ่ งในสังคม ในดา้นการยอมรับและส่งเสริมความคิดริเริ่มการไดร้ับ
การสนับสนุน การได้รับความไว้วางใจการไดป้ ฏิบตัิงานที่เหมาะสมกบัความสามารถการเป็ นผู้น า
ความเป็นอิสระและเสรีภาพ และการได้รับความส าเร็จ
ท้งัน้ีทฤษฎีของแอลเดอร์เฟอร์คือ ทฤษฎีของมาสโลว์แตกต่างกนั เพียงแอลเดอร์เฟอร์
ไม่ยอมรับเรื่องการตอบสนองความตอ้งการเป็นลา ดบัข้นั โดยเสนอวา่ การตอบสนองความตอ้งการ
ท้งั 3 อยา่ งสามารถที่จะเกิดข้ึนเมื่อไรก็ได้จะตอบสนองเมื่อไรก็ได้ไม่จา เป็นตอ้งตอบสนอง
ตามลา ดบัข้นั และนอกจากน้ีความตอ้งการอาจจะเกิดข้ึนพร้อมกนั ทีเดียว2-3 ประเภทก็ได้เช่น
ในขณะที่เกิดความตอ้งการเงินอยา่ งมากเพื่อบา บดัความตอ้งการใหต้ นเองมีชีวติอยตู่ ่อไป คนเรา
อาจจะมีความต้องการพัฒนาตนเองให้เจริญงอกงาม ดงัน้นัคนบางคนอาจจะปฏิเสธงานที่มี
เงินเดือนมากแต่หาเวลาเป็นตวัของตวัเองเพื่อการศึกษาไม่ได้เพื่อไปทา งานที่มีเงินเดือนนอ้ยกวา่ แต่
สามารถปลีกเวลาไปเพิ่มพนู ความรู้แก่ตนเองได้
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษา เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมจิตอาสาของประชาชนในกองพลทหารปื น
ใหญ่ต่อสู้อากาศยาน มีงานวจิยัที่เกี่ยวขอ้งกบัการศึกษาดงัน้ี
วันดีละอองทิพรส (2540, หน้า 80-81) ศึกษาเรื่องความสัมพนัธ์ของการใชเ้หตุผลที่เอ้ือ
ต่อสังคมและพฤติกรรมที่เอ้ือต่อสังคมของเด็กประถมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครผลการศึกษา
พบวา่ การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมที่เอ้ือต่อสังคมมีความสัมพนัธ์ทางบวกกบั พฤติกรรมที่เอ้ือต่อ
สังคม แสดงวา่ เด็กประถมศึกษาปีที่1-6 ที่มีการใหเ้หตุผลเชิงจริยธรรมที่เอ้ือต่อสังคมสูงยอ่ มมี
พฤติกรรมที่เอ้ือต่อสังคมสูงดว้ย หรือในทางตรงข้ามเด็กประถมศึกษาปี ที่1-6 ที่มีการให้เหตุผลเชิง
จริยธรรมที่เอ้ือต่อสังคมต่า ยอ่ มมีพฤติกรรมที่เอ้ือต่อสังคมต่า ดว้ย นอกจากน้ียงัพบวา่ พฤติกรรม57
การแบ่งปันของเด็กประถมศึกษาปีที่1-6 มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัการใหเ้หตุผลที่ยดึความ
ต้องการของบุคคลอื่น และมีความสัมพนัธ์ทางลบกบัการใหเ้หตุผลที่ยดึความตอ้งการของตนเอง
เป็นที่ต้งัอยางมีนัยส าคัญ ่ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมที่เอ้ือต่อสังคมในเด็กประถมแต่
ละช้นั เรียน พบวา่ มีพฤติกรรมเอ้ือสังคมในระดบั ปานกลาง
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์(2550, หน้า 142-144) ศึกษาเรื่องการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุ
ของจิตอาสาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกดัสา นกังานคณะกรรมการศึกษาข้นั
พ้ืนฐาน สรุปผลการวจิยัไดด้งัน้ีจิตอาสาของนักเรียนมีองค์ประกอบ 3 ด้าน คือการช่วยเหลือผอู้ื่น
การเสียสละต่อสังคม และความมุ่งมนั่ พฒั นาและมีตวัช้ีวดัท้งัหมด7 ตัวคือ (1) การช่วยเหลือ
แนะนา สิ่งที่ถูกที่ควรแก่ผอู้ื่น (2)การอ านวยความสะดวกใหก้ บัผอู้ื่น (3)การแบ่งปันสิ่งของใหก้ บั
ผู้อื่น (4) การสละเงิน แรงกายเพื่อผู้อื่นและสังคม (5) การสละเวลาและการใชเ้วลาวา่ งใหเ้กิด
ประโยชน์ต่อสังคม (6) การสนใจในปัญหาและการเปลี่ยนแปลงพร้อมท้งัเสนอความคิดที่จะพฒั นา
สังคม และ(7) การร่วมพฒั นากิจกรรมการเสริมสร้างจิตอาสาเพื่อสังคมอยา่ งสร้างสรรคแ์ละ
หลากหลายโดยสภาพจิตอาสาของนกัเรียนมธัยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกดัสา นกังาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีค่าเฉลี่ยของคะแนนจิตอาสาอยใู่ นระดบั ปานกลาง เมื่อ
พิจารณาแต่ละองคป์ ระกอบดา้นการช่วยเหลือผอู้ื่นอยใู่ นระดบั สูงมากการเสียสละต่อสังคมอยใู่ น
ระดับปานกลางและดา้นการมุ่งมนั่ พฒั นาอยใู่ นระดบั ปานกลาง นอกจากน้ีการเกิดจิตอาสาเป็นผล
มาจากปัจจัยด้านสังคม/ ชุมชน นนั่ คือ หากบุคคลส าคัญในสังคม/ ชุมชนมีจิตอาสาก็จะส่งผลให้
นักเรียนมีจิตอาสา ปัจจัยด้านครอบครัวความเป็นแบบอยา่ งจากพอ่ แม่มีความสา คญั มากที่สุด
นอกจากน้ีหากพ่อแม่ใชเ้หตุผลในการอบรมเล้ียงดูและ
มีการสนับสนุน ส่งเสริมใหน้กัเรียนทา พฤติกรรมจิตอาสาก็จะส่งผลใหน้กัเรียนมี
จิตอาสาเพิ่มข้ึนสัมพนัธภาพระหวา่ งนกัเรียนและเพื่อน เป็ นลักษณะส าคัญของปัจจัยด้านเพื่อน
แสดงวา่ ถ้านักเรียนมีสัมพนัธภาพที่ดีกบั เพื่อนในระดบั สูงก็จะทา ใหน้กัเรียนเกิดจิตอาสามากและ
ถา้เพื่อนสนิทหรือเพื่อนในกลุ่มของนกัเรียนมีจิตอาสาก็จะทา ใหน้กัเรียนมีจิตอาสาดว้ยเช่นกนั
ปัจจยัดา้นสื่อมวลชนมีอิทธิพลต่อการเกิดพฤติกรรมจิตอาสา นนั่ คือ หากนกัเรียนไดร้ับข่าวสารการ
ใหค้วามช่วยเหลือผู้อื่น การเสียสละต่อสังคม และความมุ่งมนั่ พฒั นาจากสื่อโทรทศัน์ก็จะส่งผลให้
นักเรียนมีจิตอาสาการสั่งสอนการปลูกฝังจากครูเป็นสิ่งสา คญั ที่สุดในปัจจยัดา้นโรงเรียน/ครูที่จะ
ท านักเรียนมีจิตอาสา นอกจากน้ีแบบอยา่ งจิตอาสาจากครูและมีสัมพนัธภาพที่ดีกบัครูก็มีอิทธิพล
ต่อการเกิดจิตอาสาของนกัเรียนเช่นกนั ในปัจจัยด้านนักเรียน เจตคติต่อจิตอาสาการเรียนรู้เกี่ยวกบั
จิตอาสาและการรับรู้ความสามารถของตนเองที่จะทา พฤติกรรมจิตอาสามีอิทธิพลต่อจิตอาสาของ
นักเรียน58
ผลการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายใน
โรงเรียนสังกดัสา นกังานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพบวา่ ตวัแปรในโมเดลสามารถอธิบาย
ความแปรปรวนของตัวแปรจิตอาสาของนักเรียนได้ร้อยละ 38.60 ซึ่งปัจจัยด้านสังคม/ ชุมชนมี
อิทธิพลทางตรงและอิทธิพลรวมต่อการเกิดจิตอาสาของนกัเรียนมากที่สุดแสดงวา่ พฤติกรรมที่
เกี่ยวขอ้งกบัการช่วยเหลือผอู้ื่น การเสียสละต่อสังคม และความมุ่งมนั่ ในการพฒั นาของบุคคลใน
สังคม มีอิทธิพลทา ใหน้กัเรียนเกิดจิตอาสา รองลงมาคือ ปัจจัยด้านครอบครัวมีอิทธิพลโดยทางตรง
และทางออ้มต่อจิตอาสาของนกัเรียนในทิศทางบวกรวมถึงพฤติกรรมของบุคคลในครอบครัวก็มี
อิทธิพลต่อเด็กเพราะเด็กจะเลียนแบบและแสดงพฤติกรรมตามบุคคลในครอบครัว โดยตวัแปรท้งั
สองดา้นน้ีส่งผลต่อจิตอาสาอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติ
สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี(2547, หน้า 66-67) ศึกษาเรื่อง ปัจจัยและกระบวนการ ที่เอ้ือต่อ
การพฒั นาจิตสา นึกต่อสังคมของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับ
จิตสา นึกต่อสังคมและวเิคราะห์ปัจจยัและกระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นาจิตสา นึกต่อสังคมของ
นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผลการวจิยัพบวา่ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยัมีจิตสา นึกต่อสังคม
ในระดับสูง ตวัแปรที่มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัจิตสา นึก ต่อสังคมอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติคือ
กระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นาจากครอบครัวครูอาจารย์เพื่อน สื่อมวลชนความสนใจในการท า
กิจกรรม ความสม่า เสมอในการเขา้ร่วมกิจกรรม แบบอยา่ งจากบุคคลสา คญั เวลาที่ใชใ้นการติดตาม
ข่าวสาร ภูมิล าเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สื่อวิทยุและปัจจยัและกระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นา
จิตสา นึกต่อสังคมของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยัที่สา คญั มีจา นวน 9 ตัวแปร โดยเรียงล าดับ
ความส าคัญจากมากไปหาน้อย ไดแ้ก่กระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นาจิตสา นึกต่อสังคมจากเพื่อน
ความสม่า เสมอในการทา กิจกรรม กระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นาจิตสา นึกต่อสังคมจากครอบครัว
กระบวนการที่เอ้ือต่อการพฒั นาจิตสา นึกต่อสังคมจากสื่อมวลชน ความสนใจในการทา กิจกรรม
บุคคลที่มีอิทธิพลในการคิดทา ประโยชน์ต่อสังคม (บุคคลในสังคม) บุคคลที่มีอิทธิพลในการคิดท า
ประโยชน์ต่อสังคม (บิดา) สถานภาพของครอบครัว (พอ่ แม่อยดู่ ว้ยกนั ) และภูมิล าเนา (ภาคะวัน
ออกเฉียงเหนือ) โดยตวัแปรท้งั 9 สามารถทา นายระดบัจิตสา นึกต่อสังคมของนิสิตไดร้้อยละ51.5
อนุศกัด์ิจินดา (2548, หน้า 101-102) ศึกษาความสัมพนัธ์เชิงสาเหตุของตวัแปรที่ส่งผล
ต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนกัเรียนมธัยมศึกษาตอนปลายจังหวัดสระบุรีโดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาตวัแปรเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนกัเรียนมธัยมศึกษาตอนปลาย
ดว้ยการตรวจสอบความสอดคลอ้งของโมเดลตามสมมติฐานกบัขอ้มูลเชิงประจกัษ์ผลการศึกษา
พบวา่ โมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมเชิงจริยธรรมได้ร้อยละ 56.6 ตัวแปร
สาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรมมากที่สุดคือผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รองลงมาคือการ59
อบรมเล้ียงดูสัมพนัธภาพระหวา่ งนกัเรียนกบั เพื่อน ลกัษณะมุ่งอนาคตแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิและการ
รับข่าวสารจากสื่อมวลชน ในส่วนลกัษณะมุ่งอนาคตมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม
ส่วนตวัแปรอื่น ๆ มีอิทธิพลทางตรงและทางออ้ มต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีอิทธิพลท้งัทางตรงและทางออ้ มต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม
นนั่ คือผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงส่งผลใหพ้ ฤติกรรมเชิงจริยธรรมสูง
2. การอบรมเล้ียงดูมีอิทธิพลท้งัทางตรงและทางออ้ มต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม นนั่ คือ
นกัเรียนที่ไดร้ับการอบรมเล้ียงดูที่ดีส่งผลใหม้ีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมสูง
3. สัมพนัธภาพระหวา่ งนกัเรียนกบั เพื่อนมีอิทธิพลทางตรงและทางออ้มต่อพฤติกรรม
เชิงจริยธรรม นนั่ คือ สัมพนัธภาพระหวา่ งนกัเรียนกบั เพื่อน ส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม
4. ลกัษณะมุ่งอนาคตมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม นนั่ คือ นักเรียนที่มี
ลกัษณะมุ่งอนาคตสูง ส่งผลใหพ้ ฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนกัเรียนสูง
5. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิมีอิทธิพลทางตรงต่อและทางออ้มต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม นนั่
คือ นักเรียนที่มี่แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิสูงจะส่งผลใหม้ีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมสูงข้ึนดว้ย
6. การรับข่าวสารจากสื่อสารมวลชนมีอิทธิพลท้งัทางตรงและทางออ้มต่อพฤติกรรมเชิง
จริยธรรม น้นัคือการรับข่าวสารของนกัเรียนที่แตกต่างกนั ทา ใหเ้กิดการเลียนแบบ ส่งผลให้
พฤติกรรมเชิงจริยธรรมแตกต่างกนัไป
อรพินทร์ ชูชม (2549, หน้า 53-54) ศึกษาเรื่องการวิเคราะห์ปัจจัยทางจิตสังคมที่
สัมพนัธ์กบัจิตสา นึกทางปัญญาและคุณภาพชีวติของเยาวชนไทยโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอและ
ตรวจสอบรูปแบบความสัมพนัธ์เชิงเหตุผลของจิตสา นึกทางปัญญาของเยาวชนวยัรุ่น ผลการวิจัย
พบวา่ ปัจจัยทางจิตสังคม ไดแ้ก่การถ่ายทอดทางปัญญาสังคม-อารมณ์ของบิดา มารดา (ไดแ้ก่
การถ่ายทอดความฉลาดทางอารมณ์การถ่ายทอดการบริโภคดว้ยปัญญาและการถ่ายทอด
จิตสาธารณะ) การปลูกฝังอบรมทางปัญญาสังคม-อารมณ์จากทางโรงเรียน (ไดแ้ก่บรรยากาศ
การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นส าคัญ การปลูกผังความฉลาดทางอารมณ์จากโรงเรียนการปลูกฝัง
การบริโภคด้วยปัญญาจากโรงเรียน และการปลูกฝังความรับผดิชอบต่อสังคมและสาธารณะจากทาง
โรงเรียน) การเห็นแบบอยา่ งทางอารมณ์และพฤติกรรมจากเพื่อน ไดแ้ก่การเห็นแบบอยา่ งทาง
อารมณ์จากเพื่อน การเห็นแบบอยา่ งการบริโภคด้วยปัญญาจากเพื่อน และการเห็นแบบอยา่ งจิต
สาธารณะจากเพื่อน และการควบคุมตนเอง มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัความฉลาดทางอารมณ์
จิตส านึกการบริโภคด้วยปัญญา จิตสาธารณะ พฤติกรรมเอ้ือสังคม ความสามารถในการแกไ้ข
ปัญหาและคุณภาพชีวติของเยาวชนวยัรุ่น และองค์ประกอบทางจิตส านึกทางปัญญา60
มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบั พฤติกรรมเอ้ือสังคม ความสามารถในการแกป้ ัญหาและคุณภาพชีวิต
ของเยาวชนวยัรุ่น กล่าวคือเยาวชนวยัรุ่นที่ไดร้ับการถ่ายทอดทางปัญญาสังคม-อารมณ์จาก
ครอบครัวโรงเรียน เพื่อน อยา่ งเหมาะสมมากและมีการควบคุมตนเองสูง จะมีความฉลาดทาง
อารมณ์จิตส านึกการบริโภคด้วยปัญญาและจิตสาธารณะ สูงตามไปด้วยรวมท้งัมีพฤติกรรมเอ้ือต่อ
สังคมสูง มีความสามารถในการแกไ้ขปัญหาสูงและมีคุณภาพ
ชีวติที่ดีดว้ยอิทธิพลของการถ่ายทอดทางปัญญาสังคม-อารมณ์จากบิดามารดาครู
อาจารย์และเพื่อน กบัการควบคุมตนเอง ร่วมกนัอธิบายความแปรปรวนของจิตส านึกทางปัญญาได้
ร้อยละ69
โดยการถ่ายทอดทางปัญญาสังคม-อารมณ์ของบิดามารดามีอิทธิพลต่อจิตสา นึกทาง
ปัญญาของเยาวชนวยัรุ่นมากที่สุดรองลงมาอิทธิพลของการเห็นแบบอยา่ งทางอารมณ์และ
พฤติกรรมจากเพื่อนมีผลต่อจิตสา นึกทางปัญญาของเยาวชนวยัรุ่น
พรพรหม พรรคพวก(2550, หน้า 82) ศึกษาเรื่องปัจจยับางประการที่ส่งผลต่อจิต
สาธารณะของนกัเรียนช่วงช้นั ที่4 ในสหวิทยาเขตกรุงเทพตะวันออกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมี
วตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาความสัมพนัธ์และค่าน้า หนกัความสา คญั ของตวัแปรปัจจยัหา้ตวั คือการรับรู้
ความสามารถของตน การคล้อยตามผู้อื่น สัมพนัธภาพระหวา่ งนกัเรียนกบัครูสัมพนัธภาพระหวา่ ง
นกัเรียนกบั เพื่อน การอบรมเล้ียงดูแบบประชาธิปไตยกบัจิตสาธารณะผลการวจิยัพบวา่ ตัวแปร
ปัจจยัท้งัหา้ตวักบัจิตสาธารณะโดยรวมมีความสัมพนัธ์กนัอยา่ งมีนยัสา คญั ซ่ึงสามารถร่วมกนั
ท านายจิตสาธารณะได้ร้อยละ48.20 และค่าน้า หนกัความสา คญั ของตวัแปรปัจจยัที่ส่งผลทางบวก
ต่อจิตสาธารณะดา้นการหลีกเลี่ยงการใช้ด้านการถือเป็ นหน้าที่และด้านการเคารพสิทธิการใช้
อยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติคือการรับรู้ความสามารถของตน และสัมพนัธภาพระหวา่ งนกัเรียนกบัครู
นอกจากน้ีในดา้นการเคารพสิทธิการใช้พบวา่ การคล้อยตามผู้อื่น ส่งผลทางบวกอยา่ งมีนยัสา คญั
ทางสถิติ
โกศล มีความดี(2547, หน้า 65-66) ศึกษาเรื่อง ปัจจยัทางจิตสังคมที่เกี่ยวขอ้งกบัการมี
จิตสาธารณะของข้าราชการต ารวจผลการศึกษาพบวา่ ขา้ราชการตา รวจมีจิตลกัษณะแตกต่างกนั มี
จิตสาธารณะแตกต่างกนัอยา่ งมีนัยส าคัญทางสถิติโดยพบวา่ ขา้ราชการตา รวจที่มีเจตคติต่อ
จิตสาธารณะที่ดีมีการรับรู้ความสามารถของตนสูงและมีลกัษณะมุ่งอนาคต-ควบคุมตนสูง
มีจิตสาธารณะสูงกวา่ ขา้ราชการตา รวจที่มีเจตคติต่อจิตสาธารณะที่ไม่ดีมีการรับรู้ความสามารถของ
ตนต ่าและมีลกัษณะมุ่งอนาคต-ควบคุมตนเองต ่า นอกจากน้ีขา้ราชการตา รวจที่มีสภาพแวดลอ้ ม
ทางสังคมแตกต่างกนั มีจิตสาธารณะแตกต่างกนัอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติโดยพบวา่ ข้าราชการ
ต ารวจที่มีการรับรู้วัฒนธรรมองค์การสูง มีการสนับสนุนทางสังคมสูงและมีการไดร้ับแบบอยา่ ง61
จากผู้บังคับบัญชาสูง มีจิตสาธารณะสูงกวาข้าราชต ารวจที่มีการรับรู้วัฒนธรรมองค์การต ่า ่ มีการ
สนับสนุนทางสังคมต ่าและมีการไดร้ับแบบอยา่ งจากผบู้ งัคบั บญั ชาต่า ตวัแปรการรับรู้
ความสามารถของตนเองและการสนับสนุนจากประชาชน มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัจิตสาธารณะ
และร่วมกนั ทา นายจิตสาธารณะของขา้ราชการตา รวจไดร้้อยละ55.9
ศุภวิชญ์จันทิพย์วงษ์(2548, หน้า 95-96) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการประหยัดของ
นกัเรียนช่วงช้นั ที่4 ในสถานศึกษาอา เภอกา แพงแสน จังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบวา่ ตัวแปรที่
ส่งผลต่อพฤติกรรมการประหยดัของนกัเรียนช่วงช้นั ที่4 ในสถานศึกษาอา เภอกา แพงแสนจงัหวดั
นครปฐม ไดแ้ก่การมีวินัยในตนเองความสันโดษ การคล้อยตามบุคคลใกล้ชิดการคล้อยตาม
สื่อมวลชน การสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวและการสนับสนุนทางสังคมจากโรงเรียน
มีความสัมพนัธ์ทางบวกอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติโดยพฤติกรรมการประหยดักบัการสนบั สนุนทาง
สังคมจากครอบครัวมีความสัมพันธ์กนั มากที่สุดและเมื่อศึกษาตัวแปรที่มีประสิทธิภาพในการ
ทา นายพฤติกรรมการประหยดัของนกัเรียนช่วงช้นั ที่4 ในสถานศึกษาอา เภอกา แพงแสน จังหวัด
นครปฐม ไดแ้ก่การสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวการมีวินัยในตนเองการสนับสนุนทาง
สังคมจากโรงเรียน การคล้อยตามสื่อมวลชน และความสันโดษ โดยที่การสนับสนุนทางสังคมจาก
ครอบครัวเป็นตวัแปรที่สามารถทา นายพฤติกรรมการประหยดัของนกัเรียนช่วงช้นั ที่4 ใน
สถานศึกษาอา เภอกา แพงแสน จังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ40.8
จากการทบทวนวรรณกรรม และงานวจิยัที่เกี่ยวขอ้งจะพบวา่ พฤติกรรมจิตอาสา หรือ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมไทย ที่นโยบายภาครัฐ พ.ร.บ.การศึกษา มติคณะรัฐมนตรีและ
หน่วยงานอื่น ๆ ใหค้วามสา คญั และพฒั นาส่งเสริมให้เกิดข้ึนกบั เด็กและเยาวชนในประเทศโดย
ตอ้งการผลกัดนั ใหม้ีลกัษณะพฤติกรรมต่าง ๆ ดงัน้ีการช่วยเหลือผอู้ื่น การเสียสละการมุ่งมนั่
พัฒนาความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีจิตส านึกสาธารณะ บา เพญ็ ประโยชน์ต่อสังคม และดูแล
รักษาสาธารณะสมบัติเพื่อใหส้ ังคมไทยเป็นสังคมที่อยเู่ยน็ เป็นสุขดงัน้นัการพฒั นาพฤติกรรม
จิตอาสาจึงควรส่งเสริมและสนบั สนุนใหม้ีการแสดงพฤติกรรมจิตอาสาใหม้ ากและสม่า เสมอและ
ปัจจยัที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจิตอาสาสรุปไดว้า่ ปัจจยัส่วนบุคคลในเรื่องประสบการณ์ทางสังคม คือ
การเขา้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ หรือการทา กิจกรรมเพื่อสังคม ประชาชนควรไดร้ับการส่งเสริมและ
สนบั สนุนใหเ้กิดกระบวนการเรียนรู้โดยเสริมทักษะในการจัดประสบการณ์ให้ได้ปฏิบัติจริง และ
ทา อยา่ งสม่า เสมอเพื่อสามารถปรับตวัใหเ้ขา้กบั บุคคลหรือสถานการณ์ต่าง ๆ ควบคู่กบัการ
เสริมสร้างทัศนคติที่ดีประกอบกบั ปัจจยัภายในของบุคคลโดยเกิดจากแรงจูงใจที่เกิดข้ึนภายใน62
ตัวบุคคลซึ่อาจจะเป็ นทัศนคติความต้องการจิตส านึกโดยผา่ นการรับรู้ความคิดในลักษณะการ
ประเมิน ความเชื่อความรู้สึก ที่มีผลท าให้เราแสดงพฤติกรรมออกไป รวมถึงปัจจยัภายนอกที่พบวา่
บุคคลและสถาบนั มีอิทธิพลและเป็นแรงจูงใจที่จะสนบั สนุนส่งเสริมใหป้ ระชาชนเป็นคนดีและมี
คุณธรรม